ReadyPlanet.com
dot
คลังข้อมูลนักบัญชี
dot
bulletมุมบัญชี
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
dot
ภาษี (Tax)
dot
bulletกรมสรรพากร
bulletสถานที่ตั้ง/เบอร์โทร สรรพากร
bulletประมวลรัษฎากร
bulletหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
bulletDownload File บัญชี - ภาษี
dot
รวม Link เอนกประสงค์
dot
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารต่างๆ
bulletอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
bulletธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
bulletหน่วยบริการภาษีใน กทม.
bulletตรวจผลสลากกินแบ่งรัฐบาล
bulletพจนานุกรมไทย
bulletDictionary อังกฤษ > ไทย
bulletเบอร์โทรศัพท์ - พกไว้คู่กาย
bulletรวมเบอร์โทรเรียก แท็กซี่
bulletชมคลิปวีดีโอ เมืองไทยในอดีต
dot
ค้นหาบทความในเว็บไซต์

dot
dot
บริการของเรา (Service)
dot


รับทำบัญชี



บทเริ่มต้นของนักธุรกิจมือใหม่

 

จดทะเบียนธุรกิจ

 

  

  เมื่อจะเริ่มต้นประกอบกิจการ จะจดทะเบียนแบบไหนดี

     เมื่อท่านตัดสินใจว่าจะทำธุรกิจเป็นของตนเองและรู้ชัดแล้วว่าจะทำธุรกิจอะไร สิ่งที่ท่านต้องตัดสินใจต่อไป คือเลือกว่าจะดำเนินธุรกิจในรูปแบบใด ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น ประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีรูปแบบที่แตกต่างกันไป โดยเมื่อท่านได้ทราบข้อแตกต่างของรูปแบบธุรกิจแต่ละประเภทแล้วก็จะเป็นการง่ายสำหรับท่านที่จะตัดสินใจได้ว่า ธุรกิจของท่านควรดำเนินการในรูปแบบใด

        

       หรืออีกนัยหนึ่ง คือ “ธุรกิจเจ้าของคนเดียว” ลักษณะของกิจการประเภทนี้คือ การตัดสินใจต่าง ๆ เป็นสิทธิของผู้เป็นเจ้าของเพียงคนเดียว การตัดสินใจต่าง ๆ อยู่ในลักษณะ คิดคนเดียว ทำคนเดียว  ซึ่งผลดีคือตัดสินใจง่ายและรวดเร็ว แต่ผลจากการคิดคนเดียว ไม่ว่าจะเป็นผลดี…ได้กำไร หรือเป็นผลเสีย….ขาดทุน ก็รับผลคนเดียวเต็ม ๆ ซึ่งลักษณะธุรกิจประเภทนี้จะดีมาก ถ้าเจ้าของไม่มีปัญหาเรื่องเงินทุนหมุนเวียน เพราะธุรกิจประเภทนี้ไม่สามารถระดมทุนจากใครได้ 

  ลักษณะการเสียภาษี เป็นไปตาม “อัตราก้าวหน้า” ซึ่งหมายถึง ถ้ารายได้มาก ก็จะเสียภาษีมากโดยอัตราภาษี สูงสุด ถึง 37% ของกำไรหลังหักค่าใช้จ่าย 

  นั่นคือ ค่าใช้จ่ายจะถูกกำหนดไว้ เป็น 2 ลักษณะ คือ อัตราเหมา (กำหนดเป็นปอร์เซ็นต์ตายตัวตามประเภทของธุรกิจ) และค่าใช้จ่ายตามจริง(ต้องอ้างอิงเอกสารค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่สรรพากรยอมรับได้ หลังจากนั้นจึงนำมาหักค่าลดหย่อนส่วนตัว จึงจะเป็นฐานภาษีสำหรับคำนวณภาษีที่ต้องชำระ  

         
   
   เป็นรูปแบบธุรกิจที่บุคคล 2 คนขึ้นไป ตกลงทำกิจการร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์จะแบ่งเป็นผลกำไร ตามอัตราส่วนที่แต่ละคนได้ลงทุน ซึ่งแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ

   1. หุ้างหุ้นส่วนสามัญ 

      ลักษณะธุรกิจประเภทนี้ ไม่จำเป็นต้องเป็นนิติบุคคล  
       ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดชอบในหนี้สินไม่จำกัดจำนวน
       ถ้าไม่จดทะเบียนจะมีสถานะเป็นคณะบุคคล 
       ถ้าจดทะเบียน มีสถานะเป็นนิติบุคคล เรียกว่า
“ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล"

      การจัดทำบัญชีและเสียภาษี การเสียภาษีเงินได้ของคณะบุคคลจะเสียภาษีเงินได้เหมือนกับบุคคลธรรมดาที่แยกออกจากตัวบุคคล ถือเป็นบุคคลอีกคนหนึ่งตามมาตรา 56 วรรค (2) ของประมวลรัษฏากร นอกจากนี้เงินส่วนแบ่งกำไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ด้วย

   2 . ห้างหุ้นส่วนจำกัด

       ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล  
       ความรับผิดชอบของผู้เป็นหุ้นส่วนแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
      ผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สินจำกัด ไม่เกินเงินที่ได้ลงทุนไป ซึ่งหุ้นส่วน ประเภทนี้จะไม่มีสิทธิในการตัดสินใจในกิจการ
       ผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สิน “ไม่จำกัดจำนวน” ในที่นี้คือ “หุ้นส่วนผู้จัดการ”ซึ่งหุ้นส่วนประเภทนี้จะมีหน้าที่รับผิดชอบ และมีสิทธิเต็มที่ในการตัดสินใจใน เรื่องต่าง ๆ ของกิจการ

      การจัดทำบัญชีและเสียภาษี มีหน้าที่ต้องจัดทำบัญชี เหมือนกรณีตั้งบริษัท และเสียภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล

   3 . บริษัทจำกัด มีลักษณะจำเพาะดังนี้คือ

       แบ่งเงินลงทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าหุ้นละ เท่า  ๆ กัน
       มีผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัท ไม่น้อยกว่า 3 คน
       ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบไม่เกินจำนวนค่าหุ้นที่ยังชำระไม่ครบถ้วน
       มีสภาพเป็นนิติบุคคล
       สามารถระดมทุนได้มากและง่าย
       ลักษณะการตัดสินใจในการบริหารงานเป็นในรูปของคณะกรรมการบริษัท จึงทำให้ได้รับความน่าเชื่อถือมากกว่าแบบบุคคลธรรมดา


 

   วัตถุประสงค์และรูปแบบของการจดทะเบียน

    การจดทะเบียนธุรกิจนั้นเริ่มตั้งแต่ผู้ประกอบการตัดสินใจได้ว่าจะเลือกประกอบธุรกิจในรูปแบบใด ก็จะจดทะเบียนธุรกิจตามประเภทธุรกิจนั้น เช่น

      ธุรกิจเจ้าของคนเดียว จดทะเบียนเป็นทะเบียนพาณิชย์
      ธุรกิจห้างหุ้นส่วนสามัญ จดทะเบียนเป็นรูปแบบคณะบุคคล
     ธุรกิจห้างหุ้นส่วนจำกัด จดทะเบียนเป็นรูปแบบห้างหุ้นส่วนจำกัด
      ธุรกิจบริษัทจำกัด จดทะเบียนเป็นรูปแบบบริษัทจำกัด

     หมายเหตุ ราคาค่าบริการข้างต้นนี้เป็นราคาสุทธิจนเสร็จสิ้นในเรื่องของการจดทะเบียน ซึ่งรวมค่าธรรมเนียมราชการและค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องแล้ว ไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นแอบแฝง

  

       รวมบทความ/คำแนะนำสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจ

  ข้อดี/ข้อเสีย ของการประกอบธุรกิจประเภทต่างๆ

      คำแนะนำในการเลือกรูปแบบของการประกอบธุรกิจ

  คิดก่อนตัดสินใจ :คุณพร้อมที่จะเริ่มต้นธุรกิจหรือยัง




จดทะเบียนธุรกิจ

ก้าวแรกของการขายของออนไลน์
เป็นกรรมการบริษัทต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง
กลยุทธ์เพื่อความสำเร็จของธุรกิจ
กรรมการกับความผิดทางอาญา
เมื่อซื้อหุ้นแล้วไม่จ่ายค่าหุ้นจะเกิดอะไรขึ้น
ความรับผิดของกรรมการบริษัท
คุณควรมีหุ้นส่วนทางธุรกิจหรือไม่
คำแนะนำ...สำหรับการตั้งชื่อบริษัท
6 วิธีป้องกันไม่ให้ธุรกิจล่วงเวลาของคุณล้ม
ความผิดพลาด 8 ประการ ของนักธุรกิจมือใหม่
"อ่านตรงนี้ก่อน! ริจะเป็นเถ้าแก่"
ข้อดี /ข้อเสีย ของการประกอบธุรกิจประเภทต่างๆ
การโอนหุ้น
เริ่มธุรกิจใหม่ ด้วย “แผนธุรกิจ”
ทำธุรกิจทั้งที ต้องทำให้ดีจนได้ซิน่า!
"อยากจะค้าขาย"
10 วิธีเริ่มธุรกิจแบบ "ฉลาดๆ"
การเลือกหุ้นส่วนนั้นสำคัญไฉน
แปรสภาพห้างหุ้นส่วนมาเป็นบริษัทจำกัด
5 “สาย”
อยากทำธุรกิจของตนเองต้องทำอย่างไร
คุณก็เป็นเศรษฐีได้
หลายหลายวิธีที่จะเริ่มต้นธุรกิจ
คิดก่อนการตัดสินใจ : คุณพร้อมที่จะเริ่มต้นธุรกิจหรือยัง
ปัจจัยสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการ SMEs
โม้ทุนจดทะเบียน + กรรมการไซฟ่อนเงิน
สรุปประเด็นสำคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องกฎหมายหุ้นส่วนบริษัท
หุ้น...ลมๆ....แล้งๆ
เริ่มต้นจากเล็ก
คุณสมบัติ 7 ประการของผู้เป็นเจ้าของธุรกิจ
10 ปัจจัยที่ทำให้ผู้ประกอบการกู้เงินจากธนาคารไม่ได้
คำแนะนำในการเลือกรูปแบบของการประกอบธุรกิจ
7 ก้าวที่ 'พลาด' ในการเริ่มธุรกิจ
บริษัทห้างหุ้นส่วนกับบุคคลธรรมดา
กระทรวงพาณิชย์โอนเรื่องจดทะเบียนพาณิชย์ให้กับกรุงเทพมหานคร และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เผย สถิติจดทะเบียนธุรกิจเดือน ธันวาคม และ รอบปี 2550
อยากมีธุรกิจเป็นของตนเองต้องคิดถึงอะไรบ้าง
ก้าวแรกบนถนนธุรกิจ
ใครบ้าง...ที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์
ข้อควรรู้ก่อนจดทะเบียนธุรกิจ
ประเภทของธุรกิจ / ธุรกิจแบ่งเป็นกี่ประเภท
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า
ข้อควรทราบในการจดทะเบียน article
วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม article
จดทะเบียนธุรกิจ หน้า 2
จดทะเบียนธุรกิจ (หน้า 3)
จดทะเบียนธุรกิจ (หน้า 4)