ReadyPlanet.com
dot
คลังข้อมูลนักบัญชี
dot
bulletมุมบัญชี
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
dot
ภาษี (Tax)
dot
bulletกรมสรรพากร
bulletสถานที่ตั้ง/เบอร์โทร สรรพากร
bulletประมวลรัษฎากร
bulletหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
bulletDownload File บัญชี - ภาษี
dot
รวม Link เอนกประสงค์
dot
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารต่างๆ
bulletอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
bulletธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
bulletหน่วยบริการภาษีใน กทม.
bulletตรวจผลสลากกินแบ่งรัฐบาล
bulletพจนานุกรมไทย
bulletDictionary อังกฤษ > ไทย
bulletเบอร์โทรศัพท์ - พกไว้คู่กาย
bulletรวมเบอร์โทรเรียก แท็กซี่
bulletชมคลิปวีดีโอ เมืองไทยในอดีต
dot
ค้นหาบทความในเว็บไซต์

dot
dot
บริการของเรา (Service)
dot


รับทำบัญชี



คำแนะนำสำหรับผู้ใช้รถยนต์ช่วงน้ำท่วม

 

ข้อแรก ถ้าไม่จำเป็น ควรหลีกเลี่ยงอย่างไม่ต้องสงสัย และไม่ต้องกลัวว่ารถจะดับหรือปล่าว หรือจะมีปัญหาอะไรตามมา เช่น น้ำจะเข้ารถหรือปล่าว แล้วจะเกิดผลเสียต่ออุปกรณ์อื่น ๆ หรือไม่ แต่ถ้ามันหลีกเลี่ยงไม่ได้ เราควรทำอย่างไรดีละ

ข้อ 1 คือ ห้ามเปิดแอร์เด็ดขาด ในขณะขับรถลุยน้ำลึก หรือแม้จะน้ำตื้นก็ตาม
เพราะ สาเหตุที่รถดับ ส่วนใหญ่เกิดจากการเปิดแอร์แล้วขับลุยน้ำ ที่ผมบอกอย่างนี้ ก็เพราะว่า เมื่อเราเปิดแอร์ พัดลมจะทำงาน และอย่าลืมสิ ว่าเรากำลังลุยน้ำลึก อย่างที่ผมเจอวันนี้ ก็คิดว่าน่าจะเกินระดับพัดลม เพราะฉะนั้น ถ้าเราขืนเปิดพัดลมละก็ สิ่งที่จะตามมา ก็คือ ใบพัดจะพัดให้น้ำกระจายไปทั่วห้องเครื่อง แล้วคุณลองคิดดูว่าอะไรจะเกิดขึ้น นั่นก็คือ เครื่องจะดับเอาง่าย ๆ หรือ ถ้าโชคดี หรือโชคร้าย ถ้าเครื่องไม่ดับ ใบพัดก็จะหมุน ๆ ซึ่งเราก็ไม่รู้หรอกว่า ขณะที่เราลุยน้ำ อะไรมันจะลอยมาบ้าง มันมีสารพัด ไม่ว่าจะเป็น ขยะ กิ่งไม้ ไม้หน้าสาม ถุงพลาสติก รองเท้า ... สิ่งของพวกนี้ มันมีโอกาสที่จะเข้ามาในห้องเครื่อง แล้วโดนใบพัดตัดจนใบพัดหัก ซึ่งถ้าใบพัดหัก แน่นอนว่า เราขับรถต่อไปไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะระบบระบายความร้อนจะมีปัญหา

ข้อ 2 ควรใช้เกียร์ต่ำ สำหรับเกียร์ธรรมดา ก็ใช้ประมาณเกียร์ 2 หรือสำหรับออโต้ ก็ใช้เกียร์ L ก็ได้ครับ รวมถึงการขับขี่ที่มีความเร็วต่ำที่สุด
เท่าที่จะเป็นไปได้ และควรใช้ความเร็วสม่ำเสมอ อย่าหยุดอย่าเร่งความเร็วขึ้น

ข้อ 3 คือ ไม่ควรเร่งเครื่องให้รอบสูง ๆ เพราะเห็นผู้ขับขี่หลาย ๆ คนมักจะเร่งเครื่องแรง ๆ เพราะอะไรรู้ไหมครับ เพราะกลัวเครื่องดับ
เพราะกลัวน้ำเข้าท่อไอเสีย ซึ่งจริง ๆ แล้วมันเป็นความคิดที่ผิดมาก ๆ แท้ที่จริงแล้ว การเร่งเครื่อง ยิ่งทำให้รถมีความร้อนสูงขึ้น เมื่อเครื่องมีความร้อนสูงขึ้น ใบพัดระบายความร้อนก็จะทำงาน และสิ่งที่จะตามมาก็เหมือนกับข้อ 1

ไม่ต้องกลัวว่าน้ำจะเข้าท่อไอเสียครับ เพราะต่อให้น้ำจะท่วมท่อไอเสีย แล้วคุณสตาร์ทรถอยู่ที่รอบเดินเบา แรงดันที่ออกมาเพียงพอที่จะดันน้ำออกมาอย่างสบาย ๆ ต่อให้คุณจอดรถทิ้งไว้จนน้ำท่วมท่อไอเสียก็ตาม เมื่อคุณเข้าไปในรถ แล้วสตาร์ทรถ ผมกล้าพูดได้เลยทีเดียวติดแน่นอน (กรณีนี้ ที่ผมกล้าพูดว่ารถสามารถสตาร์ทติด คือ น้ำท่วม แค่ท่วมท่อไอเสียนะ ไม่ใช่ท่วมฝากระโปรงนะครับ) แต่สำหรับรถคาบู ผมเองก็ไม่แน่ใจ ว่าถ้าถึงขั้นน้ำท่วมท่อไอเสีย แล้วมันจะสตาร์ทติดหรือไม่ แต่สำหรับเครื่องหัวฉีดสบายใจได้ครับ

4. ควรลดความเร็วลง เมื่อ กำลังจะขับรถสวนกับอีกคันที่กำลังขับมา
เพราะไม่งั้นจะกลายเป็นคลื่นชนคลื่น อย่างที่ผมบอก ซึ่งน้ำที่ปะทะระหว่างรถของเราและรถที่วิ่งสวนมา มันก็อาจทำให้น้ำกระเด็นไปทำอันตรายต่ออุปกรณ์ภายในได้ หลังจากเราลุยน้ำลึกมา สิ่งที่ควรทำต่อ ก็คือ ข้อแรก พยายามย้ำเบรกเพื่อไล่น้ำ เพราะในช่วงแรก ๆ หลังจากการลุยน้ำลึกมา มันจะเบรกไม่อยู่ และเป็นอันตรายมาก ถ้าเราไม่ทำการย้ำเบรกเพื่อไล่น้ำออกจากระบบเบรก สำหรับเกียร์ธรรมดา ต้องมีการย้ำคลัชเช่นเดียวกับการย้ำเบรก เพราะหลังการลุยน้ำมา อาจมีปัญหาคลัชลื่น จึงต้องทำทั้งย้ำคลัชและย้ำเบรก

อีกข้อนึงคือ ไม่ควรดับเครื่องทันที ถึงแม้ถึงจุดหมายก็ตาม เพราะอาจมีน้ำค้างอยู่ในหม้อพักของท่อไอเสีย ซึ่งควรสตาร์ทรถทิ้งไว้สักพัก ซึ่งจะสังเกตได้ว่า มีไอออกจากท่อไอเสีย ก็ไม่ต้องตกใจ ก็ให้สตาร์ทรถทิ้งไว้สักพัก เพื่อให้น้ำในหม้อพักมันระเหยออกไป เพราะถ้าไม่ทำอย่างนี้ จะทำให้เกิดน้ำค้างอยู่ในหม้อพัก สิ่งที่จะตามมาคือ มันจะผุ

    และหลังจากวันที่เราลุยน้ำมาแล้ว เราควรจะทำอย่างไร ไปดูกันต่อครับ !!!

1. ล้างรถ รวมถึง การฉีดน้ำเข้าไปในบริเวณใต้ท้องรถด้วย รวมทั้งบริเวณซุ้มล้อ เพื่อล้างพวกเศษทรายต่าง ๆ ที่มันเกาะติดอยู่ หรือบริเวณใต้ท้องรถ ซึ่งอาจมีพวกเศษขยะ เศษหญ้า ติดอยู่ ต้องเอาออกให้หมด เพราะถ้าเศษหญ้าแห้งมันติดอยู่ใต้รถ อันตรายที่จะเกิดขึ้น มันใหญ่หลวงนัก หนัก ๆ หน่อย ไฟอาจไหม้ได้ ในคู่มือยังบอกเลยครับว่า รถที่ติดตั้งตัวกรองไอเสีย หรือ (CAT) ไม่ควรจอดรถไว้บริเวณที่มีต้นหญ้าขึ้นสูง เพราะอุณหภูมิของเจ้า Catalytic Converter นั้น มันค่อนข้างสูงมาก ๆ

2. สำรวจน้ำมันเกียร์ ว่า มันมีสีผิดปกติหรือไม่ คือ ถ้ามีลักษณะคล้ายสี ชาเย็น นั่นแสดงว่า ต้องมีน้ำเข้าไปอยู่ในระบบเกียร์อย่างแน่นอน หรือถ้าเป็นไปได้ ก็เปลี่ยนน้ำมันเกียร์มันซะเลย เพื่อความสบายใจ เพราะก้านวัดน้ำมันเกียร์นั้นอยู่ค่อนข้างต่ำ และยิ่งรถผ่านการลุยน้ำลึก ๆ มา มันก็จะท่วมตัวเจ้าก้านวัด ซึ่งเป็นไปได้ที่น้ำจะซึมเข้าไปในระบบเกียร์ และมันก็จะทำให้ระบบเกียร์พัง

3. เช็คลูกปืนล้อ ซึ่ง พูดง่าย ๆ ว่า เจอน้ำทีไร ลูกปืนล้อมันก็จะดัง เวลาวิ่งความเร็วสูง ๆ อันนี้ทำใจไว้ได้เลย ว่าอาจต้องเปลี่ยน แต่ โดยปกติแล้ว เจ้าลูกปืนล้อมันจะพังเร็ว ก็เพราะสาเหตุที่ว่า จอดแช่น้ำมากกว่า แต่ถ้าวิ่งผ่านน้ำ โดยปกติ จะไม่ค่อยมีปัญหาอะไร แต่ถ้าแช่น้ำเมื่อไหร่ละก็ เตรียมตัวเสียเงินได้เลย

4. ตรวจสอบ พื้นพรมในรถ ว่า เปียกชื้นหรือไม่ เพราะ หลังการลุยน้ำลึกมา มีโอกาสมากที่น้ำจะซึมเข้ามาภายในห้องโดยสาร เพราะฉะนั้น ต้องเปิดผ้ายาง เปิดพรม เอามือ กดแรง ๆ ดู หรือลองเอากระดาษซับดูว่ามีน้ำอยู่หรือปล่าว ถ้ามีน้ำขังอยู่ภายในห้องโดยสาร ผมคิดว่า น่าจะถึงเวลารื้อพรมกันเลยละครับ เพื่อป้องกันปัญหาตามมา เพราะถ้าคุณไม่รื้อพรม แต่คุณอาจแค่เพียง เอาผ้าซับ ๆ ให้พื้นแห้ง แล้วจอดตากแดด จริง ๆแล้ว มันก็แห้งเหมือนกัน แต่สิ่งที่คุณไม่เห็นก็คือ สิ่งสกปรกที่มันยังค้างอยู่ในรถของคุณ ซึ่งคุณก็น่าจะรู้ว่า น้ำมันมีเชื้อโรคสารพัด แล้วเมื่อมันแห้ง มันก็จะแพร่เชื้อและเป็นเชื้อราอยู่ในพรม

สิ่งที่อยากบอกต่อคือ นอกจากนี้ในรถยังมีระบบปรับอากาศที่มันจะเป็นตัวช่วยพัฒนาการเจริญเติบโตของเชื้อโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี แล้วมันก็จะหมุนเวียน กลับไปกลับมา อยู่ในรถของคุณ นั่นก็เป็นสาเหตุของการเกิดภูมิแพ้ เพราะคุณก็สูดเอาเชื้อโรคต่าง ๆ เข้าไปตลอดเวลา จะว่าไปแล้ว รถสมัยนี้ค่อนข้างออกแบบมาดี ลุยน้ำไม่ค่อยดับกันหรอก ถ้าทำอย่างที่ผมบอกนะครับ ผมว่า จากสายตา วันนี้ผมลุยน้ำลึกไม่น่าต่ำกว่า 50 ซม เพราะรถรุ่นใหม่ ๆ จะย้ายอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยเฉพาะเจ้า ECU ไว้ในตำแหน่งที่สูง พูดง่าย ๆ ว่า อยู่ในรถกันเลยหละ รวมถึงกล่องฟิวส์ต่าง ๆ ติดตั้งไว้ในตำแหน่งที่ค่อนข้างสูง เพื่อป้องกันน้ำท่วมนี่เหละ

ที่มา : คลิปวีดีโอจาก Voice Tv - 12 ตุลาคม 2554               บทความ : forward mail 




รวมบทความสาระน่ารู้

7 เหตุผลที่คุณ(อาจจะ)ไม่ต้องมีสมาร์ทโฟนเครื่องใหม่
จะเกิดอะไรขึ้น เมื่อดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนโลก
สุดยอด Super Car ที่ใครๆ อยากได้
สาเหตุที่ทำให้คนไม่รู้สึกว่าจะต้องซื้อแท็บเล็ตอีกต่อไปแล้ว
ไทยจะมี ตึกสูงติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก
'อีโบลา' โรคระบาดแห่งศตวรรษที่ 21
โรคซึมเศร้า...ภัยร้ายใกล้ตัว
เรียนเป็น 10 ปี ทำไมถึงพูดภาษาอังกฤษให้ดีไม่ได้
ปวดหัวไมเกรน...สาเหตุ และวิธีการรักษาทำได้อย่างไรบ้าง
ดินแดนเหมือนฝันที่ต้องไปสักครั้งก่อนตาย
ของขวัญนั้นสำคัญไฉน
สารคดี ประสาทเขาพระวิหาร
วิธีดาวน์โหลดคลิปจาก Youtube ความละเอียด 1080 p ฟรี
รวมคลิป 10 ปีใน 4 นาที บินชมทิวทัศน์ดาวอังคาร
โจร E- Banking
แรงบันดาลใจ พลังแห่งการสร้างสรรค์ - สตีฟ จ็อบส์
วิธียื่นขอกู้เงินซื้อบ้านให้ 'ผ่าน'
มหาตมะ คานธี ( Mahatama Gandhi ) มหาบุรุษผู้สร้างแรงบันดาลใจให้นักต่อสู้ทั่วโลก
ภัย ! Internet Banking สวมรอยแล้วโอนเงิน
กูเกิลเปิดตัว 'Chromecast' เปลี่ยนทีวีบ้านๆ ให้เป็นสมาร์ททีวี ในราคา 1,000 กว่าบาท
HIV ตรวจพบควบคุมได้
แรงบันดาลใจจากคนรักสัตว์
ฟอร์บส์จัดอันดับ 50 มหาเศรษฐีไทย ปี 56 - 'เจ้าสัวซีพี' ซิวที่ 1
ประเทศเมียนมาร์ ความเปลี่ยนแปลงหลังเปิดประเทศ
รู้ทันสัญญาณอันตราย! “หลอดเลือดสมองอุดตัน” ศึกษาวิธีป้องกันก่อนสาย
แอปเปิลเปิดตัว iOS 7 เปลี่ยนโฉม iOS ครั้งใหญ่ที่สุด
แอปเปิลเตรียมผลิต 'ไอโฟน' จอใหญ่ขึ้น-มีหลายสี
มือถือ แท็บแล็ต ค่าย Android ดีหรือไม่ดีอย่างไร มาฟังกูรูวิจารณ์
รวมเรื่องราวเปิดโลกวันหยุดต่างๆ รอบโลก
รถไฟความเร็วสูง ก้าวสู่ระบบการเดินทางสายหลักแห่งอนาคต
ข้อควรรู้ เพื่อห่างไกลจากแฮกเกอร์
Malaysia - รู้จักมาเลเซียในหลากหลายแง่มุม
จัดอันดับงานที่ดีและแย่ที่สุดในสหรัฐฯประจำปี 2556
สายด่วนช่วยเหลือสังคม ศูนย์ช่วยเหลือสังคม เพื่อให้การช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ
รับอาสาสมัครบุกเบิกไป 'ดาวอังคาร' แต่ไปแล้วไม่ได้กลับมา
Titanic - รำลึกครบรอบ 101 ปี เรือไททานิกล่ม
Sakura Festival เทศกาลชมดอกซากุระประจำปีของญี่ปุ่น
South Africa กว่า 20 ปีของการสิ้นสุดลัทธิเหยียดผิว
อุบัติเหตุแบบไทยๆ
โจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) ผู้นำสหภาพโซเวียตผู้ยิ่งใหญ่
Oscars สุดยอดรางวัลเกียรติยศของนักแสดงและผู้ผลิตภาพยนตร์
บัณฑิตครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ล้นตลาดแล้ว
ย้อนรอยเหตุการณ์สำคัญปี 2012
สุดยอดนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี 2555
อาชีพนักศึกษาจบใหม่ที่ได้เงินเดือนสูงสุด-ต่ำสุด
รีวิว iPad Mini
เปิดเส้นทางสู่ทำเนียบขาว
ระวัง ! ใช้ Wi-Fi ทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ อาจเสี่ยงโดน Hack ข้อมูล
เรื่องราว ประวัติ แง่มุม ที่น่าสนใจของ Bill Gates เจ้าพ่อ Microsoft
จะเกิดอะไรกับ มือถือและแท็บเล็ต เมื่อ "3 G" ฉลุยใช้งาน
กินเจ - วัฒนธรรมการกินมังสวิรัติแบบต่างๆ
'เติ้งเสี่ยวผิง' บิดาแห่งประเทศจีนยุคใหม่
วิถีชีวิต ชาวนิวยอร์ก
ชายหาดที่สวยที่สุดในโลก
บัตรประจำตัวประชาชน บัตรคู่กายคนไทย มีความสำคัญอย่างไร
ย้อนอดีตสงครามมหาเอเซียบูรพา
"ด้านมืดสังคมออนไลน์" ใส่ร้าย อาชญากรรม ฉ้อโกง
หลากหลายเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ Google Search
ธุรกิจผลิต Application
'นาซา' เดินหน้าแกะรอยสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร
บัณฑิตปริญญาตรี ตกงาน 1 ใน 3
100 เคล็ดลับน่ารู้คู่บ้าน
กำเนิดกีฬาโอลิมปิก
วีดีโอ...ประวัติศาสตร์อเมริกา
คลิปวีดีโอแกะกล่อง แท็บเล็ต ป.1 มีหน้าตาเป็นอย่างไร
ประวัติรถไฟโดยสารของโลก
แนวโน้มอาชีพอินเทรนด์ ปี 2555
"ฮีทสโตรก" ภัยร้าย หน้าร้อน
เชื่อหรือไม่ เมืองไทยคนจนลดลง
นิตยสารฟอร์บส์จัดอันดับประเทศที่รวยที่สุดในโลก
ประเทศไทยจะมีช่องฟรีทีวีระบบดิจิตอล 50 ช่อง
ทิศทางเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วม
เรือนจำที่ดีที่สุดในโลกที่นอร์เวย์
Doctor Me หมอประจำบ้าน เว็บไซต์ที่จะให้ทุกคนสามารถดูแลสุขภาพในช่วงน้ำท่วมได้ด้วยตัวเอง
5 อันดับที่พักพิงชั่วคราวสุดเจ๋ง
คลิปวีดีโอ ภาพถ่ายล่าสุดของโลกจากสถานีอวกาศนานาชาติ
รู้ สู้ ! Flood - วีดีโอ Infographic สร้างสรรค์ ที่เข้าใจง่าย ให้ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นเรื่องน้ำท่วมที่ประชาชนควรรู้
ชีวิตที่ยังจมน้ำของชาวบ้านบางบัวทอง
หนังแอ็คชั่นที่ดีที่สุดของชาวอเมริกัน
เปิดข้อเสนอระยะสั้น-กลาง- ยาว แก้ปัญหาน้ำท่วม
รวบรวมเรื่องของน้ำท่วม - การจัดการน้ำ - หลากหลายความเชื่อเรื่องน้ำท่วมโลก
วางกระสอบทรายป้องกันน้ำท่วมให้ถูกวิธี
10 ผลิตภัณฑ์ของแอปเปิลจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
การจากไปของ " STEVE JOBS"
เสี่ยงหรือไม่ ลงทุนในทองคำ
มหาวิทยาลัยของไทย จุฬาฯ - มหิดล ติดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก
เจาะลึกความเป็น Apple ในมุมมองที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน
19 ปี วัดพระบาทน้ำพุ ภาพสะท้อนสถานการณ์โรคเอดส์ในไทย
เริ่มลดการคุ้มครองเงินฝากแล้ว
แนะนำ App Android ที่น่าสนใจ ( หน้า 2 )
แนะนำ App ในมือถือ Android ที่น่าสนใจ
กฎหมายต้านทารุณสัตว์ ฉบับแรกของไทย
รถยนต์ควบคุมด้วยความคิดคันแรกของโลก
เปิดผลงานวิจัยสำรวจการเกิดสึนามิในประเทศไทย
124 ปี เชษฐบุรุษประชาธิปไตย “พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา”
'มีอะไรบ้างใน iPad2'
ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์อากาศในประเทศไทย ยังแปรแปรวนต่อจนถึงเดือนพฤษภาคม 2554
คนญี่ปุ่นกับเหตุุการณ์ธรณีพิบัติและสึนามิ
เตรียมรับมือ “แผ่นดินไหว-สึนามิ” หายนะโลก!