ReadyPlanet.com
dot
คลังข้อมูลนักบัญชี
dot
bulletมุมบัญชี
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
dot
ภาษี (Tax)
dot
bulletกรมสรรพากร
bulletสถานที่ตั้ง/เบอร์โทร สรรพากร
bulletประมวลรัษฎากร
bulletหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
bulletDownload File บัญชี - ภาษี
dot
รวม Link เอนกประสงค์
dot
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารต่างๆ
bulletอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
bulletธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
bulletหน่วยบริการภาษีใน กทม.
bulletตรวจผลสลากกินแบ่งรัฐบาล
bulletพจนานุกรมไทย
bulletDictionary อังกฤษ > ไทย
bulletเบอร์โทรศัพท์ - พกไว้คู่กาย
bulletรวมเบอร์โทรเรียก แท็กซี่
bulletชมคลิปวีดีโอ เมืองไทยในอดีต
dot
ค้นหาบทความในเว็บไซต์

dot
dot
บริการของเรา (Service)
dot


รับทำบัญชี



ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสามีและภรรยา

 

 

   การแต่งงานกัน มันอยู่บนฐานแห่งความรักความเข้าใจก็ใช่อยู่ แต่เมื่อแต่งกันแล้วยังมีเรื่องเงินทองทรัพย์สินและภาระหน้าที่ติดตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้ว่าจะไม่ได้เค็มใส่กันสักเท่าไร แต่การทำมาหาได้ในระหว่างแต่งงาน ยังมีเรื่องของภาษี ที่ทั้งสามีภรรยามีหน้าที่ต้องนำมาจ่ายให้แก่รัฐ

   เดี๋ยวนี้สิทธิของบุรุษและสตรีกำลังจะมีความเท่าเทียมกัน ภรรยาหลายบ้านจึงมีงานมีการเป็นของตัวเอง ทำให้มีรายได้มาเสริมครอบครัว ไม่ว่าจะในลักษณะที่เป็นการทำงานกินเงินเดือน ทำธุรกิจเป็นเรื่องเป็นราว หรือทำการค้าเล็กน้อยพอมีรายได้มาจุนเจือครอบครัว ไม่ว่าสามีจะพอใจในการทำมาหาได้ของภรรยาหรือไม่ กฎหมายในเรื่องภาษีก็จะต้องเข้ามามีบทบาท หากภรรยามีรายได้เช่นนี้ เพียงแต่รู้แล้วอย่าตกใจ กฎหมายกำหนดให้เงินได้ของภรรยาถือเป็นเงินได้ของสามีอีกด้วย คุณสามีก็อย่าได้ดีใจถือโอกาสทวงรายได้มาใส่กระเป๋าตัวเอง แม้ความเป็นจริงของภรรยาจะเป็นผู้ก็บเงินได้ทั้งของตัวเองและของสามีเอาไว้ดูแลแต่เพียงฝ่ายเดียวก็ตาม ความสำคัญยังอยู่ที่ว่า

   กฎหมายถือว่าเงินได้ของภรรยาเป็นเงินได้ของสามี ผลก็คือ หน้าที่และความรับผิดชอบของสามีที่จะต้องนำเงินได้ของภรรยานี้มารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีตามกฎหมายนั่นเอง และภรรยาก็อย่าเพิ่งดีใจว่าปลดปลอดจากหน้าที่เสียภาษีทั้งหลายที่ตัวหามาได้  เนื่องจากสามีจัดการให้ตามที่กฎหมายบังคับ เพราะหากมีภาษีค้างชำระเกิดขึ้นเมื่อใด รัฐก็อาจแจ้งให้ฝ่ายภรรยาจัดการเสียโดยแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน อย่างนี้ภรรยาก็จะผูกพันที่จะต้องร่วมรับผิดกับสามีในการจ่ายภาษีที่ค้างชำระนั้น

   ความจริงมันก็คนละกระเป๋าเดียวกัน แต่การนำมาคำนวณเงินได้เพื่อจ่ายภาษีในลักษณะนี้ ทำให้ฐานภาษีของสามีกว้างออกไป และนั่นหมายถึง อัตราภาษีที่ต้องจ่ายก็จะขยายสูงขึ้นไปด้วย เนื่องจากยิ่งมีเงินได้สุทธิมากเท่าไร ก็ยิ่งต้องเสียภาษีในอัตราสูงขึ้นเป็นการเสียหายทางการเงินแก่ครอบครัว

   ยังมีทางออกในทางกฎหมาย หากปรากฎว่าเงินได้ของภรรยาตกอยู่ในส่วนที่เป็นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน กฎหมายให้สิทธิภรรยาที่จะแยกวงมายื่นต่างหากจากสามีได้ โดยไม่ต้องถือเป็นเงินได้ของสามี ซึ่งเราคงเคยสังเกตเห็นได้จากแบบยื่นรายการเพื่อเสียภาษีว่ามีช่องของคู่สมรสเอาไว้ให้ใส่เป็นรายการต่างหาก ดังนั้น หากต้องการแยกจ่ายก็ยื่นไว้ในรายการฉบับเดียวกับสามี แต่แยกคำนวณภาษีต่างหากเท่านั้น อย่างนี้ก็ทำให้สามีภรรยาเสียภาษีน้อยลงไปด้วย เพราะเมื่อไม่นำไปรวมเงินได้ของสามี ฐานภาษีก็จะต่ำ อัตราภาษีก็จะพลอยต่ำไปด้วย

   ในการยื่นรายการจะมีเรื่องการหักค่าลดหย่อนบุตรและค่าลดหย่อนเพื่อการศึกษาของบุตร ถ้าแยกกันยื่นจะถือโอกาสต่างคนต่างหักลดหย่อนไม่ได้ มีลูกอยู่คนเดียวก็ต้องแบ่งกันหัก จะมาตีขลุมหักทั้งสองคนไม่ได้ ต้องแบ่งกันคนละครึ่งกับสามี  แบบนี้มีทีเด็ดอยู่ตรงที่สามีบางคนเอาลูกที่ติดกับภรรยาเก่ามาหักลดหย่อนเต็มอัตรา เพราะภรรยาคนปัจจุบันไม่มีบุตร อย่างนี้ก็ทำไม่ได้ เพราะถ้าจะแยกรายการกันออกไป แม้ลูกคนละท้องแม่ก็ต้องหักลดหย่อนคนละครึ่งอยู่นั่นเอง

  

     1. กรณีสามีมีเงินได้ประเภทที่ 1 จำนวน 200,000 บาท ภริยามีเงินได้ประเภทที่ 1 จำนวน 100,000 บาท ในปีภาษี ถ้าสามีภริยานำเงินได้รวมคำนวณเสียภาษีในชื่อของสามี เงินได้ทั้งหมด 300,000 บาท จะหักค่าใช้จ่ายได้ 100,000 บาท (เงินได้สามีหักค่าใช้จ่ายได้ 60,000 บาท เงินได้ภริยาหักค่าใช้จ่ายได้ 40,000 บาท) อนึ่ง กรณีนี้แม้ว่าภริยาจะเลือกเสียภาษี โดยแยกเงินได้ประเภทที่ 1 ไปเสียภาษีในชื่อของภริยา การหักค่าใช้จ่ายก็ยังคงหักได้ในจำนวนเท่ากับ กรณีรวมคำนวณคือ เงินได้ของสามี 200,000 บาท หักค่าใช้จ่ายได้ 60,000 บาท ส่วนเงินได้ของภริยา 100,000 บาท หักค่าใช้จ่ายได้ 40,000 บาท

  2. ในกรณีภริยามีเงินได้ประเภทที่ 1 และ 2 โดยที่แหล่งเงินได้มิใช่แหล่งเดียวกัน เฉพาะเงินได้ประเภทที่ 1 เท่านั้น ที่ภริยาสามารถนำไปแยกคำนวณเสียภาษีในชื่อของตนเองต่างหากจากเงินได้สามี ส่วนเงินได้ประเภทที่ 2 ต้องนำไปรวมคำนวณเสียภาษีในชื่อของสามีกรณีเช่นนี้ การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้ 2 ประเภทดังกล่าว ต้องเฉลี่ยหักตามส่วน

  3. ในกรณีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2 เป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุ ออกจากงาน โดยคำนวณจ่ายจากระยะเวลาที่ทำงาน ทั้งนี้ไม่ว่าเงินที่จ่ายนั้นจะจ่ายจากเงินกองทุนบำเหน็จบำนาญหรือเงินอื่นใด ผู้มีเงินได้อาจเลือกเสียภาษีโดยรวมคำนวณกับเงินได้ประเภทที่ 1 คือ ให้คำนวณรวมกับเงินเดือนแล้วหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาร้อยละ 40 ของเงินได้พึงประเมิน แต่รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท หรือเลือกคำนวณตามมาตรา 48(5) แห่งประมวลรัษฎากรแล้วให้นำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่นตามหลักทั่วไปก็ได้ ซึ่งจะทำให้สามารถประหยัดภาษีได้ 

   การวางแผนภาษีของสามีภริยา

   ภาษี & คู่มรส

 ที่มา : หนังสือพิมพ์ คม ชัด ลึก คอลัมภ์ "รู้ทันกฎหมาย" โดย ศรัณยา ไชยสุต /และกรมสรรพากร




รวมบทความภาษี

วีดีโอแนะนำ การยื่นแบบ ภ.ง.ด.53 ผ่านอินเตอร์เน็ต
วีดีโอแนะนำ การยื่นแบบ ภ.ง.ด.3 ผ่านอินเทอร์เน็ต
วีดีโอแนะนำ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1 ผ่านอินเทอร์เน็ต
คลิปวีดีโอแนะนำ การยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90/ 91 ผ่านอินเทอร์เน็ต
ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการ
การจ่ายเงินโบนัส
กรมสรรพากรเปลี่ยนรูปแบบใบกํากับภาษี รายงานภาษีซื้อ / ภาษีขาย ใหม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2557
อัตราภาษีใหม่ สำหรับบุคคลธรรมดา
ภาษีธุรกิจการท่องเที่ยว
แอพ RD Smart Tax ยื่นภาษี ผ่านสมาร์ทโฟน
ของฟรี ก็ต้องมีภาษีนะ...อย่าลืม
นำสินค้ามาใช้ในกิจการของตนเอง ต้องเสียภาษีด้วยหรือ !!!
ใบกำกับภาษีและใบเสร็จรับเงิน ออกอย่างไรไม่มีปัญหา
หลากหลายประเด็นดึงดูดใจให้สรรพากรต้อง “ ปักธง ”
ขายสินค้าคงเหลือ ราคาต่ำกว่าทุน ได้หรือไม่
ค้าขายทางอินเตอร์เน็ตกับการเสียภาษีอย่างถูกต้อง
ปรับโครงสร้างภาษีเพื่อสร้างความเป็นธรรรม
กรมสรรพากรกับการปรับลดภาษี
สรรพากรอุดช่องโหว่ภาษีคณะบุคคล
ภาษีรถยนต์นั่ง
เรื่องรอบระยะเวลาบัญชี กับการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ภ.ง.ด. 51
แนวทางปฎิบัติหลังการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีเงินปันผล
เบี้ยปรับเงินเพิ่ม - ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
เรื่องของภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หักลดหย่อนภาษีอะไรได้บ้าง
ขนส่งกับเช่ารถยนต์ ภาษีต่างกันอย่างไร
วิธีการคำนวณภาษีเงินเดือนและค่าแรง เพื่อหักภาษีนำส่งในแบบ ภ.ง.ด. 1
คืนสินค้าอย่างไร จึงจะต้องออกใบลดหนี้
การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โปรแกรมช่วยคำนวณและแบบภาษีต่างๆ ปี 54
มาตรการรถยนต์คันแรก บ้านหลังแรก ลดภาษีเพื่อกระตุ้นกำลังซื้อประชาชน
ครม.อนุมัติแล้ว มาตรการซื้อบ้านหลังแรกราคาไม่เกิน 5 ล้านคืนภาษี 10%
หลักเกณฑ์และแนวทางการคืนภาษีรถยนต์คันแรก
ฎีกาภาษี กรณีภรรยามีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ (2) ต้องเฉลี่ยค่าใช้จ่ายหรือไม่
รายจ่ายเกี่ยวกับรถยนต์นั่ง
ภาษีเบี้ยประกันชีวิต
ใบกำกับภาษีซื้อต่างที่อยู่กัน ใช้ได้ (ถูกที่) ไม่ถูกประเมิน
อย่างไร ? จึงเป็นเงินได้พึงประเมิน
บริหารภาษีให้ถูกวิธี
ปัญหาคณะบุคคล
ภาระภาษีจาการรับเงินปันผลและจาการขายหุ้น
ทำไมรายได้ค่าเช่าบ้านของภรรยา จึงถือเป็นรายได้ของสามี !!!
การออมเงินโดยการประหยัดภาษี
ไม่ได้นำผลขาดทุนไปใช้ จะทำอย่างไรดี
สรรพากรเรียกเก็บภาษีเพิ่ม เกือบ 3 แสนบาทจาก "น้องปลายฟ้า" ผู้โชคดีได้รางวัลจากการตั้งชื่อ "หลินปิง"
การอุทธรณ์ การประเมินภาษีอากร
เรื่องไม่ง่ายกับ "ค่านายหน้า"
จะทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะเป็นที่ยอมรับของสรรพากร
สรรพากรร่วมกับตำรวจจับกุุมเครือข่ายขายใบกำกับภาษีปลอม รัฐเสียหายร่วมพันล้านบาท
ยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปี 2552 มีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ
สาเหตุที่กระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ. 30 แล้วมียอดไม่เท่ากัน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
"ของแถม" ที่ไม่ต้องมี VAT
ภาษีซื้อ กรณีซื้อของมาแถมให้กับลูกค้า
แก้ไข อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มในใบกำกับภาษี มีความผิดหรือไม่
สรรพากรขยายฐานภาษีเพิ่มอีก 3.5 แสนราย
ค่าชดเชยการเลิกจ้างกับภาระภาษีอากร
วิธีรับมือกับการหลอกโอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม
สัมภาษณ์เหยื่อที่ถูกหลอกคืนเงินภาษีผ่านตู้ ATM
เตือนภัยหลอกเก็บภาษี
ขายบ้านเสียภาษีอย่างไร
ภาษี ค่าไฟฟ้าและน้ำประปา
ปัญหาภาษีสำหรับกิจการนายหน้าประกันภัย
ผลดีของการเสียภาษีอย่างถูกต้อง
สิทธิและประโยชน์ทางภาษี จากการเป็นสมาชิก กบข
ขอเตือน-รอบระยะเวลาบัญชีก็สำคัญนะ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม - การใช้ใบกำกับภาษีซื้อหลังแจ้งเลิกกิจการ
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี(รายจ่ายต้องห้าม)
สรรพากรชูนโยบายใหม่ตรวจเข้มภาษีรายเดือน ไล่เช็กบิลพวกตกแต่งตัวเลข
การหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
วันสุดท้ายของการออกหนังสือรับรองภาษี หัก ณ ที่จ่าย
รู้ไว้ใช่ว่ากับภาษี
โปรแกรมช่วยคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และแบบภาษีต่างๆ ปีภาษี 2554 article
ขายอสังหาริมทรัพย์อย่างไรไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
เหตุใดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทย จึงไม่ช่วยกระจายรายได้
ของขวัญกับการเสียภาษี
ภาษีมรดก
เช่าทรัพย์กับภาษีอากร
สรรพากร Call Center
การประหยัดเงินได้ด้วยภาษี - ด้วยกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF)
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และ VAT ของชิปปิ้ง
เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
ภาษีเบี้ยประกันชีวิต
การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และหนี้สินที่มีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ
ภาษีเงินรางวัลส่งเสริมการขาย
อายุความ การขอคืนภาษีเงินได้
การเสียภาษีในนามคณะบุคคล
สรรพากรตั้งเป้าจัดเก็บภาษี ปี 2553 อยู่ที่ 1.098 ล้านล้านบาท
สรรพากร สั่งสอบภาษี บ้านเช่า-คอนโด-ดารา
‘หัวหมอ’เลี่ยงภาษีเพียบ
ทูลเกล้าฯ ถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย สามารถหักลดหย่อนภาษีได้หรือไม่
ฎีกาภาษี : สิทธิในการนำภาษีซื้อมาหักออกจากภาษีขาย
กิจการร่วมค้า (Joint Venture)
ภาษีครึ่งปีบ้านให้เช่า
ภาษีอากรประเมิน
ภ.ง.ด. 94 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี
บริจาคอย่างไร ไม่เสีย VAT