ReadyPlanet.com
dot
คลังข้อมูลนักบัญชี
dot
bulletมุมบัญชี
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
dot
ภาษี (Tax)
dot
bulletกรมสรรพากร
bulletสถานที่ตั้ง/เบอร์โทร สรรพากร
bulletประมวลรัษฎากร
bulletหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
bulletDownload File บัญชี - ภาษี
dot
รวม Link เอนกประสงค์
dot
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารต่างๆ
bulletอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
bulletธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
bulletหน่วยบริการภาษีใน กทม.
bulletตรวจผลสลากกินแบ่งรัฐบาล
bulletพจนานุกรมไทย
bulletDictionary อังกฤษ > ไทย
bulletเบอร์โทรศัพท์ - พกไว้คู่กาย
bulletรวมเบอร์โทรเรียก แท็กซี่
bulletชมคลิปวีดีโอ เมืองไทยในอดีต
dot
ค้นหาบทความในเว็บไซต์

dot
dot
บริการของเรา (Service)
dot


รับทำบัญชี



มั่งคั่งด้วยภาษี

 

 

   การใช้ชีวิตอยู่อย่างสบาย ในบั้นปลายของชีวิตหลังเกษียณอายุงานแล้ว ไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่ายๆ ที่จะมีชีวิตอยู่โดยมีเงินเพียงพอที่จะใช้จ่าย กินอยู่ รักษาตัว เมื่อเกิดโรคภัยไข้เจ็บ ไม่ต้องอาศัยพึ่งพาคนอื่น

การจะอยู่ได้เช่นนั้น แม้จะไม่สามารถทำได้ง่ายๆ แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นจนไม่สามารถไปถึงได้แต่จะต้องกำหนดเป้าหมาย มีความอดทน และมีวินัย ดังนั้นการวางแผนทางการเงินจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับไปให้ถึงเป้าหมายนี้

การวางแผนทางการเงิน เพื่อไปสู่จุดหมายที่เราตั้งใจนั้น ไม่ได้มีสูตรตายตัว ขึ้นอยู่กับความต้องการปัจเจกบุคคล แต่เราควรจะกำหนดสัดส่วนการออมให้ชัดเจนว่า ออมเท่าไหร่ เงินเหลือจากออมจึงนำมาใช้จ่าย ไม่ใช่ใช้ก่อนเหลือเท่าไหร่จึงจะเก็บเป็นเงินออม

ปัจจุบันการใช้ประโยชน์จากการหักลดหย่อนเงินภาษีเงินได้ เป็นแนวทางที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ซึ่งก็เป็นเคล็ดลับหนึ่งที่ช่วยเพิ่มพูนการออมได้อย่างดีมากทีเดียว

การบริหารภาษีเป็นเรื่องที่ใกล้ตัว และทำได้เลยโดยไม่ยุ่งยาก เพียงแค่ศึกษาข้อมูลให้ถ่องแท้ การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีในทางที่ถูกต้อง จะช่วยสร้างความมั่งคั่งให้กับเราได้มากพอดู

เงินเพิ่มพูนจากการฝากเงิน

หากมีเงินออมอยู่ก้อนหนึ่ง เราอาจจะย้ายเงินฝากจากบัญชีออมทรัพย์ ที่แม้จะไม่เสียภาษีดอกเบี้ยเงินฝากหากรายได้ดอกเบี้ยมีไม่เกิน 2 หมื่นล้าน แต่ก็ได้ดอกเบี้ยเงินฝากเพียง 1-2% ไปไว้ในบัญชีเงินฝากประจำแบบมีระยะเวลา จะเป็นแบบ 3 เดือน 6 เดือน หรือ 12 เดือน ก็ได้ ซึ่งจะให้ดอกเบี้ยสูงกว่าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ แต่การฝากเงินแบบนี้จะต้องเสียภาษีเงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากในอัตรา 15% แต่ดอกเบี้ยที่เสียไปนี้เราสามารถขอคืนภาษีได้ ด้วยการนำดอกเบี้ยเงินฝากถูกหักภาษีในอัตรา 15% ไปรวม คำนวณภาษี ในบางกรณีก็อาจจะได้ภาษีคืน

นอกจากนี้ เรายังสามารถโยกเงินฝากออกไปฝากประจำแบบปลอดภาษี เป็นเงินฝากระยะยาว 24 เดือน แต่มีเงื่อนไขจะต้องฝากเงินต่อเนื่องในจำนวนที่เท่ากันทุกเดือน แต่ละครั้งจะฝากได้สูงสุดไม่เกิน 2.5 หมื่นบาทต่อเดือน แต่หากถอนก่อนครบกำหนดตามเงื่อนไข ผู้ฝากเงินก็จะได้ดอกเบี้ยเงินฝากในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์เท่านั้น

การฝากเงินปลอดภาษีนี้ สามารถฝากได้ตลอดชีวิต คือ เมื่อครบ 2 ปี ก็สามารถที่จะเปิดบัญชีใหม่ ฝากเงินสมทบเข้าไปได้อีก

เงินงอกเงยจากการลงทุนในตลาดทุน

นอกจากจะฝากเงินฝากระยะยาวแล้ว เรายังสามารถที่จะนำเงินออมแยกไปซื้อกองทุนตราสารหนี้ระยะสั้น ซึ่งให้ผลตอบแทนสุทธิสูงกว่าการฝากเงินในธนาคารพาณิชย์ประมาณ 3-4% นอกจากนี้ ยังไม่เสียภาษีเงินได้ผลตอบแทนจากการลงทุนโดยความเสี่ยงของเงินกองทุนประเภทนี้มีไม่สูงจนรับไม่ได้ เนื่องจากกองทุนประเภทนี้จะนำเงินส่วนใหญ่ไปลงทุนในตั๋วเงินคลัง พันธบัตร รัฐบาลระยะสั้น หรือฝากธนาคารซึ่งรัฐบาลยังค้ำประกันทั้งต้นทั้งดอกเบี้ย

บางคนที่รักความเสี่ยง แบบ Hight Risk High Return ก็ลงทุนในตลาดหุ้นโดยตรงด้วยการเปิดบัญชีซื้อขายหุ้นกับบริษัทหลักทรัพย์ และซื้อขายหุ้นเอง ซึ่งผลกำไรที่ได้จากการขายหุ้นนั้นไม่ต้องเสียภาษี การลงทุนในหุ้นนั้นมีผลพลอยได้เกิดขึ้นในรูปของเงินปันผล ซึ่งเงินปันผลนี้จะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 10% ของรายได้ แต่เราสามารถที่จะขอเครดิตภาษีเงินปันผลได้ แต่ถ้าหากผู้ที่ซื้อหุ้น ซื้อหุ้นจากบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนเงินปันผลที่จ่ายไม่ต้องหักภาษีเพราะผู้ถือหุ้นที่ได้รับเงินปันผลจะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ และไม่ต้องนำมารวมคำนวณเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแต่อย่างใด

รวยด้วยกองทุนรวม

ออมเงิน/ลงทุนกับกองทุน LTF และ RMF โดย KBank (ตอนที่ 1)

คนที่ไม่นิยมความเสี่ยง ก็ไม่ควรจะเข้าไปลงทุนในตลาดหุ้นเอง แต่มีทางเลือกในการลงทุนให้ ด้วยการซื้อกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) และกองทุนรวมเพื่อการเกษียณอายุ (RMF)
กองทุนรวมทั้ง 2 ประเภทนั้น มีความเหมือนกันตรงที่ รัฐยอมให้นำเงินลงทุนใน LTF และ RMF มาหักลดหย่อนภาษีได้กองทุนละไม่เกิน 15% ของรายได้ทั้งปี และไม่เกิน 3 แสนบาทต่อปี

ทั้งนี้ ควรศึกษาเงื่อนไขการลงทุนในกองทุนทั้ง 2 ประเภทนี้ก่อนตัดสินใจเข้าลงทุน เงื่อนไขสำคัญสำหรับการลงทุนใน RMF คือต้องลงทุนอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยปีเว้นปี และจะออกได้ต่อเมื่ออายุ 55 ปี และลงทุนมาแล้วเกิน 5 ปี หากออกไปก่อนก็ต้องคืนภาษีที่หักลดหย่อนไปแล้วแก่รัฐ แต่ก็สามารถปรับเปลี่ยนโยกย้ายกองทุนได้ หากเห็นว่าได้ประโยชน์มากกว่า

มารู้จักกองทุน LTF และ RMF โดย KBank (ตอนที่ 2)

หากไปซื้อกองทุนที่จ่ายเงินปันผล ก็สามารถนำเงินปันผลมาเครดิตภาษีคืนได้ ยิ่งใครฐานภาษีต่ำ ยิ่งขอเครดิตภาษีคืนได้มากขึ้น กรณีที่ผู้ถือหุ้นมีฐานภาษีอยู่ที่ 10% สามารถขอคืนภาษีได้ถึง 27% ส่วนคนที่ไม่ต้องเสียภาษีเลย อาจขอภาษีเงินปันผลที่เสียไว้แล้วคืนได้ทั้งหมด

ขณะที่ LTF บังคับให้ถือเพียง 5 ปี และไม่ต้องลงทุนต่อเนื่อง
ผู้บริหารกองทุนรวมต่างๆ แนะนำว่า ผู้ที่ควรซื้อกองทุนรวมทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ คนที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 20% ขึ้นไป

ยกตัวอย่างเช่น
หากลงทุนใน LTF ปีละ 1 แสนบาทท่านที่เสียภาษีในอัตรา 30% จะได้ภาษีคืนถึง 3 หมื่นบาท เมื่อครบกำหนด 5 ปีที่ถอนการลงทุนได้ ท่านก็นำเงินก้อนเดิมกลับไปลงทุนได้อีกรอบ วิธีนี้ถ้าทำ 5 รอบ จะได้ภาษีคืนถึง 1.5 แสนบาทเลยทีเดียว

เพิ่มความมั่นคงด้วยประกันชีวิต

เป็นที่รู้กันทั่วไปว่า การทำประกันชีวิตสามารถนำมาหักลดหย่อนภาษีได้ปีละ 5 หมื่นบาท(เมื่อปี 2549) ดังนั้น ผู้ที่เสียภาษีในอัตราสูงน่าที่จะเข้าศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจัง ซึ่งประกันภัยที่จะหักลดหย่อนภาษีได้ต้องซื้อก่อนวันสิ้นปี และกรมธรรม์ต้องมีอายุเกิน 10 ปีเท่านั้น


ซื้อบ้านก็หักลดหย่อนภาษีได้

ผู้ที่เริ่มต้นสร้างชีวิตใหม่ ซื้อที่อยู่อาศัยแบบเงินผ่อน ดอกเบี้ยซื้อบ้านนั้นรับยอมให้นำมาหักลดหย่อนภาษีได้ปีละ 5 หมื่นบาท (เมื่อปี 2549) แต่มีเงื่อนไขผู้หักลดหย่อนภาษีต้องมีชื่อเป็นเจ้าบ้านในทะเบียนบ้าน

ออมผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เป็นเงินออมแบบผูกพันระยะยาว ที่กฎหมายออกมาให้เป็นหลักประกันทางการเงินให้แก่ลูกจ้าง เพื่อใช้ยังชีพยามเกษียณอายุ หรือพ้นจากวัยทำงาน โดยกฎหมายกำหนดให้นายจ้างและลูกจ้างสมทบเงินเข้ากองทุนในสัดส่วนที่เท่ากัน

สำหรับลูกจ้างที่เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับเงินที่จ่ายสะสมเข้ากองทุนโดยสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 15% ของเงินได้ในปีนั้น และสูงสุดถึง 3 แสนบาท

มั่งคั่งจากการประหยัดภาษี

เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่าเราจะเพิ่มเงินออมได้จากการประหยัดภาษีอย่างไร ลองมาดูตัวอย่างการคำนวณการเสียภาษีที่เข้าใจได้ง่ายๆ คือ

หากท่านเสียภาษีเงินได้ฯ ในอัตรา 30% และมีเงินได้เกินปีละ 2 ล้านบาท ท่านสามารถใช้สิทธิซื้อ RMF และ LTF กองละ 3 แสนบาท ตลอดจนใช้สิทธิซื้อประกันชีวิตและเสียดอกเบี้ยซื้อบ้านอีกอย่างละ 5 หมื่นบาทต่อปี รวมแล้วหักลดหย่อนได้ถึงปีละ 7 แสนบาท ซึ่งจะสามารถขอภาษีคืนได้ถึง 2.1 แสนบาท หากท่านทำต่อเนื่องเพียง 5 ปี ภาษีที่ท่านประหยัดได้จะเท่ากับ 1.05 ล้านบาท!

นี่ยังไม่ได้รวมการขอคืนภาษีจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือเงินปันผล ที่ยังนำมาขอคืนภาษีได้อีก รวมทั้งการขอเครดิตภาษีซื้อบ้านและนำเอาเงินจ่ายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมาหักลดหย่อนภาษี

ทีนี้รู้หรือยังว่าการประหยัดภาษีดีอย่างไร

ที่มา: หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์  27 พ.ย. 2549




รวมบทความภาษี

วีดีโอแนะนำ การยื่นแบบ ภ.ง.ด.53 ผ่านอินเตอร์เน็ต
วีดีโอแนะนำ การยื่นแบบ ภ.ง.ด.3 ผ่านอินเทอร์เน็ต
วีดีโอแนะนำ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1 ผ่านอินเทอร์เน็ต
คลิปวีดีโอแนะนำ การยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90/ 91 ผ่านอินเทอร์เน็ต
ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการ
การจ่ายเงินโบนัส
กรมสรรพากรเปลี่ยนรูปแบบใบกํากับภาษี รายงานภาษีซื้อ / ภาษีขาย ใหม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2557
อัตราภาษีใหม่ สำหรับบุคคลธรรมดา
ภาษีธุรกิจการท่องเที่ยว
แอพ RD Smart Tax ยื่นภาษี ผ่านสมาร์ทโฟน
ของฟรี ก็ต้องมีภาษีนะ...อย่าลืม
นำสินค้ามาใช้ในกิจการของตนเอง ต้องเสียภาษีด้วยหรือ !!!
ใบกำกับภาษีและใบเสร็จรับเงิน ออกอย่างไรไม่มีปัญหา
หลากหลายประเด็นดึงดูดใจให้สรรพากรต้อง “ ปักธง ”
ขายสินค้าคงเหลือ ราคาต่ำกว่าทุน ได้หรือไม่
ค้าขายทางอินเตอร์เน็ตกับการเสียภาษีอย่างถูกต้อง
ปรับโครงสร้างภาษีเพื่อสร้างความเป็นธรรรม
กรมสรรพากรกับการปรับลดภาษี
สรรพากรอุดช่องโหว่ภาษีคณะบุคคล
ภาษีรถยนต์นั่ง
เรื่องรอบระยะเวลาบัญชี กับการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ภ.ง.ด. 51
แนวทางปฎิบัติหลังการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีเงินปันผล
เบี้ยปรับเงินเพิ่ม - ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
เรื่องของภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หักลดหย่อนภาษีอะไรได้บ้าง
ขนส่งกับเช่ารถยนต์ ภาษีต่างกันอย่างไร
วิธีการคำนวณภาษีเงินเดือนและค่าแรง เพื่อหักภาษีนำส่งในแบบ ภ.ง.ด. 1
คืนสินค้าอย่างไร จึงจะต้องออกใบลดหนี้
การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โปรแกรมช่วยคำนวณและแบบภาษีต่างๆ ปี 54
มาตรการรถยนต์คันแรก บ้านหลังแรก ลดภาษีเพื่อกระตุ้นกำลังซื้อประชาชน
ครม.อนุมัติแล้ว มาตรการซื้อบ้านหลังแรกราคาไม่เกิน 5 ล้านคืนภาษี 10%
หลักเกณฑ์และแนวทางการคืนภาษีรถยนต์คันแรก
ฎีกาภาษี กรณีภรรยามีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ (2) ต้องเฉลี่ยค่าใช้จ่ายหรือไม่
รายจ่ายเกี่ยวกับรถยนต์นั่ง
ภาษีเบี้ยประกันชีวิต
ใบกำกับภาษีซื้อต่างที่อยู่กัน ใช้ได้ (ถูกที่) ไม่ถูกประเมิน
อย่างไร ? จึงเป็นเงินได้พึงประเมิน
บริหารภาษีให้ถูกวิธี
ปัญหาคณะบุคคล
ภาระภาษีจาการรับเงินปันผลและจาการขายหุ้น
ทำไมรายได้ค่าเช่าบ้านของภรรยา จึงถือเป็นรายได้ของสามี !!!
การออมเงินโดยการประหยัดภาษี
ไม่ได้นำผลขาดทุนไปใช้ จะทำอย่างไรดี
สรรพากรเรียกเก็บภาษีเพิ่ม เกือบ 3 แสนบาทจาก "น้องปลายฟ้า" ผู้โชคดีได้รางวัลจากการตั้งชื่อ "หลินปิง"
การอุทธรณ์ การประเมินภาษีอากร
เรื่องไม่ง่ายกับ "ค่านายหน้า"
จะทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะเป็นที่ยอมรับของสรรพากร
สรรพากรร่วมกับตำรวจจับกุุมเครือข่ายขายใบกำกับภาษีปลอม รัฐเสียหายร่วมพันล้านบาท
ยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปี 2552 มีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ
สาเหตุที่กระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ. 30 แล้วมียอดไม่เท่ากัน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
"ของแถม" ที่ไม่ต้องมี VAT
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสามีและภรรยา
ภาษีซื้อ กรณีซื้อของมาแถมให้กับลูกค้า
แก้ไข อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มในใบกำกับภาษี มีความผิดหรือไม่
สรรพากรขยายฐานภาษีเพิ่มอีก 3.5 แสนราย
ค่าชดเชยการเลิกจ้างกับภาระภาษีอากร
วิธีรับมือกับการหลอกโอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม
สัมภาษณ์เหยื่อที่ถูกหลอกคืนเงินภาษีผ่านตู้ ATM
เตือนภัยหลอกเก็บภาษี
ขายบ้านเสียภาษีอย่างไร
ภาษี ค่าไฟฟ้าและน้ำประปา
ปัญหาภาษีสำหรับกิจการนายหน้าประกันภัย
ผลดีของการเสียภาษีอย่างถูกต้อง
สิทธิและประโยชน์ทางภาษี จากการเป็นสมาชิก กบข
ขอเตือน-รอบระยะเวลาบัญชีก็สำคัญนะ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม - การใช้ใบกำกับภาษีซื้อหลังแจ้งเลิกกิจการ
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี(รายจ่ายต้องห้าม)
สรรพากรชูนโยบายใหม่ตรวจเข้มภาษีรายเดือน ไล่เช็กบิลพวกตกแต่งตัวเลข
การหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
วันสุดท้ายของการออกหนังสือรับรองภาษี หัก ณ ที่จ่าย
รู้ไว้ใช่ว่ากับภาษี
โปรแกรมช่วยคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และแบบภาษีต่างๆ ปีภาษี 2554 article
ขายอสังหาริมทรัพย์อย่างไรไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
เหตุใดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทย จึงไม่ช่วยกระจายรายได้
ของขวัญกับการเสียภาษี
ภาษีมรดก
เช่าทรัพย์กับภาษีอากร
สรรพากร Call Center
การประหยัดเงินได้ด้วยภาษี - ด้วยกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF)
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และ VAT ของชิปปิ้ง
เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
ภาษีเบี้ยประกันชีวิต
การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และหนี้สินที่มีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ
ภาษีเงินรางวัลส่งเสริมการขาย
อายุความ การขอคืนภาษีเงินได้
การเสียภาษีในนามคณะบุคคล
สรรพากรตั้งเป้าจัดเก็บภาษี ปี 2553 อยู่ที่ 1.098 ล้านล้านบาท
สรรพากร สั่งสอบภาษี บ้านเช่า-คอนโด-ดารา
‘หัวหมอ’เลี่ยงภาษีเพียบ
ทูลเกล้าฯ ถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย สามารถหักลดหย่อนภาษีได้หรือไม่
ฎีกาภาษี : สิทธิในการนำภาษีซื้อมาหักออกจากภาษีขาย
กิจการร่วมค้า (Joint Venture)
ภาษีครึ่งปีบ้านให้เช่า
ภาษีอากรประเมิน
ภ.ง.ด. 94 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี