ReadyPlanet.com
dot
คลังข้อมูลนักบัญชี
dot
bulletมุมบัญชี
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
dot
ภาษี (Tax)
dot
bulletกรมสรรพากร
bulletสถานที่ตั้ง/เบอร์โทร สรรพากร
bulletประมวลรัษฎากร
bulletหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
bulletDownload File บัญชี - ภาษี
dot
รวม Link เอนกประสงค์
dot
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารต่างๆ
bulletอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
bulletธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
bulletหน่วยบริการภาษีใน กทม.
bulletตรวจผลสลากกินแบ่งรัฐบาล
bulletพจนานุกรมไทย
bulletDictionary อังกฤษ > ไทย
bulletเบอร์โทรศัพท์ - พกไว้คู่กาย
bulletรวมเบอร์โทรเรียก แท็กซี่
bulletชมคลิปวีดีโอ เมืองไทยในอดีต
dot
ค้นหาบทความในเว็บไซต์

dot
dot
บริการของเรา (Service)
dot


รับทำบัญชี



วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย article

 

                                                                            วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย     

                                                               

 วิกฤตเศรษฐกิจ แบ่งเป็นสามประเภท ได้แก่ วิกฤตค่าเงิน วิกฤตธนาคาร และวิกฤตหนี้ระหว่างประเทศ

วิกฤตการณ์ค่าเงิน (Currency Crisis)
เป็นวิกฤตการณ์ที่ประเทศถูกโจมตีค่าเงินจากนักเก็งกำไรค่าเงินทำให้ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ต้องลดค่าเงินลง เป็นเหตุให้ธนาคารกลางต้องพยายามตรึงค่าเงินและต้องเสียกทุนสำรองระหว่างประเทศ และต้องใช้นโยบายปรับอัตราดอกเบี้ยในประเทศให้อยู่ในระดับสูง เพื่อป้องกันเงินทุนไหลออกและป้องกันการถูกโจมตีค่าเงิน เช่น วิกฤตที่เกิดขึ้นในประเทศไทยปี 2540

วิกฤตการณ์ธนาคาร (ฺBanking Crisis)
เป็นวิกฤตการณ์ที่ธนาคารพาณิชย์ประสบปัญหาสภาพคล่องอย่างรุนแรง หรือไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ ทำให้รัฐบาลต้องเข้ามาแทรกแซงให้ความช่วยเหลือ หรือเข้าไปยึดกิจการมาดำเนินการเอง

วิกฤตหนี้ระหว่างประเทศ (International debt Crisis)
เป็นวิกฤตการณ์ที่ประเทศไม่สามารถชำระหนี้คืนได้ ไม่ว่าเป็นหนี้ภาครัฐหรือเอกชน

สาเหตุของวิกฤตเศรษฐกิจ
1. เกิดจากปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ คือระบบกลไกเศรษฐกิจ และการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่ผิดพลาด
2. เกิดจากปัจจัยที่ไม่ใช้เศรษฐศาสตร์

วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดจากปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์


1. การหดตัวของการส่งออกและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลในระดับสูง ซึ่งในปี 2539 การส่งออกของประเทศไทยขยายตัวไม่ถึง 1% เมื่อเทียบกับปี 2537 และปี 2538 ซึ่งขยายตัว 23 % และ 21% ตามลำดับ การส่งออกที่ไม่ขยายตัวในปี 2539 ทำให้มีผลกระทบต่ออุปสงค์มวลรวม ส่งผลกระทบทางด้านจิตวิทยา และความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ในเรื่องปัญหาสภาพคล่องของทุนสำรองระหว่างประเทศและค่าเงิน เพราะประเทศไทยขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมาตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 และมีขนาดของการขาดดุลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้นำไปสู่การโจมตีค่าเงินและเกิดวิกฤตสถาบันการเงินในที่สุด


2. การลงทุนเกินควร ซึ่งเป็นรากฐานของฟองสบู่ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้มีการลงทุนมากเกินไปได้แก่ การเปิดเสรีทางการเงิน ทำให้ธุรกิจและสถาบันการเงิน สามารถกู้ยืมเงินจากต่างประเทศได้ ทำให้มีการขยายการลงทุนมากเกินไป อีกประการหนึ่ง เกิดจากการที่ราคาอสังหาริมทรัพย์ และ ตราสารทางการเงินต่าง ๆ มีราคาสูงขึ้นก่อให้เกิดอุปสงค์เพื่อเก็งกำไร และทำให้มีการลงทุนเพื่อผลิตสินค้าสนองตอบอุปสงค์เพื่อเก็งกำไร


3. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ตกต่ำ ในช่วงปี 2530-2539 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัย อาคารสำนักงานสนามกอล์ฟ สวนเกษตร เติบโตอย่างมาก ในปี 2540 เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ เป็นผลมาจากการที่รัฐบาลอนุญาตให้มีธุรกรรมวิเทศธนกิจ (Bangkok Intrnational Banking Facilities : BIBF) ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยในตลาดโลกต่ำกว่าในประเทศมาก จึงทำให้ผู้ประกอบการหันไประดมทุนจากต่างประเทศพร้อมกับระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ โหมการลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์ทั่วประเทศ และจากการที่ราคาอสังหาริมทรัพย์และที่ดินเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงก่อให้เกิดอุปสงค์เพื่อเก็งกำไร และดึงดูดให้ผู้ประกอบการสมัครเล่นหันมาทำธุรกิจประเภทนี้อย่างกว้างขวาง ซึ่งกล่าวได้ว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์เป็นภาคที่เกิดภาวะฟองสบู่


4. ดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคที่ไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปี 2540 อีกสาเหตุหนึ่งคือ การผิดพลาดในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในส่วนที่รับผิดชอบโดยธนาคารแห่งประเทศไทย คือ การใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่และปล่อยให้เงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี โดยขาดการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพ ผลดีของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ คือ ช่วยให้มีการควบคุมเสถียรภาพด้านราคา แต่มีผลเสียต่อดุลบัญชีเดินสะดัด กล่าวคือ การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ในขณะที่ระดับเงินเฟ้อในประเทศปรับตัวสูงขึ้น เท่ากับว่ารัฐบาลช่วยให้ราคาสินค้านำเข้าได้เปรียบในการแข่งขันกับสินค้าในประเทศ ทำให้ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินในการควบคุมปริมาณเงินด้อยลง กล่าวคือ ตั้งแต่ประเทศไทยเปิด BIBF ในปี 2536 มีเงินทุนไหลเข้ามาในประเทศจำนวนมาก ทำให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทย พยายามดูดซับปริมาณเงินที่มากเกินไป โดยการขายพันธบัตรการดำเนินนโยบายเช่นนี้ทำให้อัตราดอกเบี้ยภายในประเทศที่สูงอยู่แล้ว ไม่ลดลง ซึ่งเป็นปัจจัยให้มีการนำเงินทุนเข้ามามากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดขบวนการเศรษบกิจฟองสบู่ในที่สุด

วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่ใช่เศรษฐศาสตร์


1. พฤติกรรมของธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน


1.1 การจัดหาแหล่งเงินทุนและการบริหารสินเชื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพ นับตั้งแต่รัฐบาลอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุนทำธุรกรรม BIBF (วิเทศธนกิจ) แต่แทนที่สถาบันการเงินจะระดมเงินทุนจากเงินฝากภายในประเทศ กลับนิยมกู้เงินจากต่างประเทศมาปล่อยกู้ในประเทศ เพราะอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในต่างประเทศอยุ่ในระดับต่ำและต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก รวมทั้งไม่ต้องกังวลเรื่องความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนพฤติกรรมของสถาบันการเงินดังกล่าวทำให้สัดส่วนหนี้ต่อทุนอยู่ในระดับสูง ทำให้เกิดความเสี่ยงในการบริหารสภาพคล่อง และเกิดความเสี่ยงในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ประกอบกับสถาบันการเงิน ปล่อยสินเชื่อกระจุกตัวอยู่ในตลาดที่มีสภาพฟองสบู่ในระดับสูง คือ ตลาดอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น ดังนั้น เมื่อเกิดวิกฤตในตลาดอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น จึงมีผลกระทบต่อสภาพคล่องของสถาบันการเงิน รวมทั้งนำไปสู่การสะสมหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงินในที่สุด


1.2 พฤติกรรมของผู้บริหารสถาบันการเงินที่มีการบริหารงานในลักษณะที่คอร์รัปชั่น โดยการช่วยเหลือญาติพี่น้องหรือนักการเมืองด้วยการให้สินเชื่อในกลุ่ม ผู้บริหาร ญาติ ธุรกิจในเครือมากเกินไป หรือให้สินเชื่อในโครงการที่มีผลตอบแทนต่ำ การตกแต่งบัญชี หรือการสร้างลูกหนี้ปลอม


2. พฤติกรรมการระดมทุนของธุรกิจ


เกิดขึ้นเนื่องจากมีความผิดพลาดในการระดมทุน คือมีการกู้มาก จากทั้งในประนอกประเทศ ทำให้สัดส่วนหนี้สินต่อทุนสูง ทำให้ธุรกิจมีความเสี่ยงสูง นอกจากนี้ธุรกิจยังได้นำเงินกู้มาลงทุนในโครงการที่ให้ผลตอบแทนระยะยาว ธุรกิจบางธุรกิจ เช่น อสังหาริมทรัพย์กู้เงินจากต่างประเทศมาลงทุนในโครงการที่ให้ผลตอบแทนเป็นสกุลภายในประเทศ โดยไม่มีการประกันความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เพราะเชื่อมั่นว่าธนาคารแห่งประเทศไทยจะยึดมั่นกับระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ สภาพการณ์ดังกล่าวทำให้บริษัทอยู่ในสภาพความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะเมื่อการส่งออกหดตัว ความเชื่อมั่นของนักลงทุนและเจ้าหนี้ต่างประเทศลดลง จึงทำให้ธุรกิจล้มละลายนำไปสู่ภาวะฟองสบู่แตกในที่สุด


3. ธนาคารแห่งประเทศไทยบกพร่องในการกำกับและตรวจสอบสถาบันการเงิน การเปิดเสรีทางการเงินโดยให้สถาบันการเงินสามารถกู้เงินจากต่างประเทศได้ง่าย ดังนั้นธนาคารแห่งประเทศไทยต้องมีระบบการตรวจสอบสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


ที่มา : http://yalor.yru.ac.th




รวมบทความสาระน่ารู้

7 เหตุผลที่คุณ(อาจจะ)ไม่ต้องมีสมาร์ทโฟนเครื่องใหม่
จะเกิดอะไรขึ้น เมื่อดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนโลก
สุดยอด Super Car ที่ใครๆ อยากได้
สาเหตุที่ทำให้คนไม่รู้สึกว่าจะต้องซื้อแท็บเล็ตอีกต่อไปแล้ว
ไทยจะมี ตึกสูงติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก
'อีโบลา' โรคระบาดแห่งศตวรรษที่ 21
โรคซึมเศร้า...ภัยร้ายใกล้ตัว
เรียนเป็น 10 ปี ทำไมถึงพูดภาษาอังกฤษให้ดีไม่ได้
ปวดหัวไมเกรน...สาเหตุ และวิธีการรักษาทำได้อย่างไรบ้าง
ดินแดนเหมือนฝันที่ต้องไปสักครั้งก่อนตาย
ของขวัญนั้นสำคัญไฉน
สารคดี ประสาทเขาพระวิหาร
วิธีดาวน์โหลดคลิปจาก Youtube ความละเอียด 1080 p ฟรี
รวมคลิป 10 ปีใน 4 นาที บินชมทิวทัศน์ดาวอังคาร
โจร E- Banking
แรงบันดาลใจ พลังแห่งการสร้างสรรค์ - สตีฟ จ็อบส์
วิธียื่นขอกู้เงินซื้อบ้านให้ 'ผ่าน'
มหาตมะ คานธี ( Mahatama Gandhi ) มหาบุรุษผู้สร้างแรงบันดาลใจให้นักต่อสู้ทั่วโลก
ภัย ! Internet Banking สวมรอยแล้วโอนเงิน
กูเกิลเปิดตัว 'Chromecast' เปลี่ยนทีวีบ้านๆ ให้เป็นสมาร์ททีวี ในราคา 1,000 กว่าบาท
HIV ตรวจพบควบคุมได้
แรงบันดาลใจจากคนรักสัตว์
ฟอร์บส์จัดอันดับ 50 มหาเศรษฐีไทย ปี 56 - 'เจ้าสัวซีพี' ซิวที่ 1
ประเทศเมียนมาร์ ความเปลี่ยนแปลงหลังเปิดประเทศ
รู้ทันสัญญาณอันตราย! “หลอดเลือดสมองอุดตัน” ศึกษาวิธีป้องกันก่อนสาย
แอปเปิลเปิดตัว iOS 7 เปลี่ยนโฉม iOS ครั้งใหญ่ที่สุด
แอปเปิลเตรียมผลิต 'ไอโฟน' จอใหญ่ขึ้น-มีหลายสี
มือถือ แท็บแล็ต ค่าย Android ดีหรือไม่ดีอย่างไร มาฟังกูรูวิจารณ์
รวมเรื่องราวเปิดโลกวันหยุดต่างๆ รอบโลก
รถไฟความเร็วสูง ก้าวสู่ระบบการเดินทางสายหลักแห่งอนาคต
ข้อควรรู้ เพื่อห่างไกลจากแฮกเกอร์
Malaysia - รู้จักมาเลเซียในหลากหลายแง่มุม
จัดอันดับงานที่ดีและแย่ที่สุดในสหรัฐฯประจำปี 2556
สายด่วนช่วยเหลือสังคม ศูนย์ช่วยเหลือสังคม เพื่อให้การช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ
รับอาสาสมัครบุกเบิกไป 'ดาวอังคาร' แต่ไปแล้วไม่ได้กลับมา
Titanic - รำลึกครบรอบ 101 ปี เรือไททานิกล่ม
Sakura Festival เทศกาลชมดอกซากุระประจำปีของญี่ปุ่น
South Africa กว่า 20 ปีของการสิ้นสุดลัทธิเหยียดผิว
อุบัติเหตุแบบไทยๆ
โจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) ผู้นำสหภาพโซเวียตผู้ยิ่งใหญ่
Oscars สุดยอดรางวัลเกียรติยศของนักแสดงและผู้ผลิตภาพยนตร์
บัณฑิตครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ล้นตลาดแล้ว
ย้อนรอยเหตุการณ์สำคัญปี 2012
สุดยอดนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี 2555
อาชีพนักศึกษาจบใหม่ที่ได้เงินเดือนสูงสุด-ต่ำสุด
รีวิว iPad Mini
เปิดเส้นทางสู่ทำเนียบขาว
ระวัง ! ใช้ Wi-Fi ทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ อาจเสี่ยงโดน Hack ข้อมูล
เรื่องราว ประวัติ แง่มุม ที่น่าสนใจของ Bill Gates เจ้าพ่อ Microsoft
จะเกิดอะไรกับ มือถือและแท็บเล็ต เมื่อ "3 G" ฉลุยใช้งาน
กินเจ - วัฒนธรรมการกินมังสวิรัติแบบต่างๆ
'เติ้งเสี่ยวผิง' บิดาแห่งประเทศจีนยุคใหม่
วิถีชีวิต ชาวนิวยอร์ก
ชายหาดที่สวยที่สุดในโลก
บัตรประจำตัวประชาชน บัตรคู่กายคนไทย มีความสำคัญอย่างไร
ย้อนอดีตสงครามมหาเอเซียบูรพา
"ด้านมืดสังคมออนไลน์" ใส่ร้าย อาชญากรรม ฉ้อโกง
หลากหลายเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ Google Search
ธุรกิจผลิต Application
'นาซา' เดินหน้าแกะรอยสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร
บัณฑิตปริญญาตรี ตกงาน 1 ใน 3
100 เคล็ดลับน่ารู้คู่บ้าน
กำเนิดกีฬาโอลิมปิก
วีดีโอ...ประวัติศาสตร์อเมริกา
คลิปวีดีโอแกะกล่อง แท็บเล็ต ป.1 มีหน้าตาเป็นอย่างไร
ประวัติรถไฟโดยสารของโลก
แนวโน้มอาชีพอินเทรนด์ ปี 2555
"ฮีทสโตรก" ภัยร้าย หน้าร้อน
เชื่อหรือไม่ เมืองไทยคนจนลดลง
นิตยสารฟอร์บส์จัดอันดับประเทศที่รวยที่สุดในโลก
ประเทศไทยจะมีช่องฟรีทีวีระบบดิจิตอล 50 ช่อง
ทิศทางเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วม
เรือนจำที่ดีที่สุดในโลกที่นอร์เวย์
Doctor Me หมอประจำบ้าน เว็บไซต์ที่จะให้ทุกคนสามารถดูแลสุขภาพในช่วงน้ำท่วมได้ด้วยตัวเอง
5 อันดับที่พักพิงชั่วคราวสุดเจ๋ง
คลิปวีดีโอ ภาพถ่ายล่าสุดของโลกจากสถานีอวกาศนานาชาติ
รู้ สู้ ! Flood - วีดีโอ Infographic สร้างสรรค์ ที่เข้าใจง่าย ให้ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นเรื่องน้ำท่วมที่ประชาชนควรรู้
ชีวิตที่ยังจมน้ำของชาวบ้านบางบัวทอง
หนังแอ็คชั่นที่ดีที่สุดของชาวอเมริกัน
เปิดข้อเสนอระยะสั้น-กลาง- ยาว แก้ปัญหาน้ำท่วม
รวบรวมเรื่องของน้ำท่วม - การจัดการน้ำ - หลากหลายความเชื่อเรื่องน้ำท่วมโลก
คำแนะนำสำหรับผู้ใช้รถยนต์ช่วงน้ำท่วม
วางกระสอบทรายป้องกันน้ำท่วมให้ถูกวิธี
10 ผลิตภัณฑ์ของแอปเปิลจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
การจากไปของ " STEVE JOBS"
เสี่ยงหรือไม่ ลงทุนในทองคำ
มหาวิทยาลัยของไทย จุฬาฯ - มหิดล ติดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก
เจาะลึกความเป็น Apple ในมุมมองที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน
19 ปี วัดพระบาทน้ำพุ ภาพสะท้อนสถานการณ์โรคเอดส์ในไทย
เริ่มลดการคุ้มครองเงินฝากแล้ว
แนะนำ App Android ที่น่าสนใจ ( หน้า 2 )
แนะนำ App ในมือถือ Android ที่น่าสนใจ
กฎหมายต้านทารุณสัตว์ ฉบับแรกของไทย
รถยนต์ควบคุมด้วยความคิดคันแรกของโลก
เปิดผลงานวิจัยสำรวจการเกิดสึนามิในประเทศไทย
124 ปี เชษฐบุรุษประชาธิปไตย “พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา”
'มีอะไรบ้างใน iPad2'
ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์อากาศในประเทศไทย ยังแปรแปรวนต่อจนถึงเดือนพฤษภาคม 2554
คนญี่ปุ่นกับเหตุุการณ์ธรณีพิบัติและสึนามิ