ReadyPlanet.com
dot
คลังข้อมูลนักบัญชี
dot
bulletมุมบัญชี
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
dot
ภาษี (Tax)
dot
bulletกรมสรรพากร
bulletสถานที่ตั้ง/เบอร์โทร สรรพากร
bulletประมวลรัษฎากร
bulletหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
bulletDownload File บัญชี - ภาษี
dot
รวม Link เอนกประสงค์
dot
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารต่างๆ
bulletอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
bulletธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
bulletหน่วยบริการภาษีใน กทม.
bulletตรวจผลสลากกินแบ่งรัฐบาล
bulletพจนานุกรมไทย
bulletDictionary อังกฤษ > ไทย
bulletเบอร์โทรศัพท์ - พกไว้คู่กาย
bulletรวมเบอร์โทรเรียก แท็กซี่
bulletชมคลิปวีดีโอ เมืองไทยในอดีต
dot
ค้นหาบทความในเว็บไซต์

dot
dot
บริการของเรา (Service)
dot


รับทำบัญชี



สาเหตุของ... การคิดใหญ่ แต่...ไปไม่รอด !

 

                                           สาเหตุของ...การคิดใหญ่ แต่...ไปไม่รอด ! 

 

                                                              

    ใครๆก็ถูกปลูกฝังให้คิดใหญ่ SME หน้าใหม่ๆไปจนถึง SME หน้าเดิมๆ และองค์กรหลายๆองค์กร
ต่างก็พยายามที่จะ คิดใหญ่ (Think Big) และไปให้ถึง...

แต่ส่วนมาก ได้แค่ คิดใหญ่ แต่ไปไม่ค่อยจะถึง ! 

การคิดใหญ่ ไม่ใช่เรื่องเลวร้าย การคิดเล็กเกินไปก็เป็นการบั่นทอนศักยภาพของตนเอง มา
ลองหาสาเหตุกันดีกว่าว่า ทำไมส่วนมาก...คิดใหญ่...แล้วมักจะเจ๊ง
!

 

                 

 

1.คิดใหญ่...แบบไม่ประเมินตัวเอง

ถือเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความล้มเหลวของผู้ที่คิดใหญ่! เพราะการไม่ประเมินตัวเอง ย่อมมีแต่
ฝันที่ปราศจากวิสัยทัศน์! และเป็นฝันที่มั่นใจแบบไร้สติอีกต่างหาก!
SME หรือเจ้าของ
กิจการประเภทนี้ แยกไม่ออกว่า ความหลงตัวเอง กับ จุดแข็งของตัวเองแตกต่างกันยังไง!

ยิ่งถ้าได้รับการชื่นชมว่าเป็นดาวรุ่งดวงใหม่ของวงการ ก็เท่ากับยิ่งเป็นการส่งเสริม SME หรือ
เจ้าของธุรกิจประเภทนี้ให้หลงตัวเองมากยิ่งขี้นว่า ข้าแน่เป็นหนึ่งไม่มีสอง คิดไกลถึงขนาดจะ
ไปโค่นอันดับหนึ่งที่อยู่ในวงการมาหลายสิบปี แต่แค่ 1-2ปี พวกคิดใหญ่ประเภทนี้ก็จะแพ้ภัย
ตัวเองเพราะ ความต่างและความห่างของ ฝัน กับ ฝีมือที่แท้จริง มันแตกต่างและห่างเกินไป!

2.คิดใหญ่...แต่ใจร้อน

ถือเป็นจุดตาย ทั้ง SME ที่มีฝีมือหลายต่อหลายรายต้องมาตายเพราะความใจร้อน คิดแต่
เพียงว่า จะก้าวกระโดดอย่างไรให้ไกลที่สุด จะใช้เวลาให้น้อยที่สุดเพื่อไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่ง

ใหญ่ และ SME รวมทั้งผู้บริหารดาวรุ่งที่มีฝีมือหลายต่อหลายคนที่เป็นแบบนี้ จะโชคดีใน
ช่วงแรกๆของการบุกเบิก เรียกว่าทั้งเก่งทั้งเฮงในตอนเริ่มต้น ยิ่งทำให้ฮึกเหิมคิดการใหญ่ ลง
ทุนเกินตัว ขยายธุรกิจอย่างบ้าคลั่ง...สุดท้ายถ้าไม่คลั่งจนเป็นบ้าเพราะเจ๊ง ก็จะหายเงียบเข้า
กลีบเมฆไปหลบเลียแผล หลายต่อหลายราย!

3.คิดใหญ่...แต่คิดเอาแต่ได้

SME และเจ้าของธุรกิจประเภทนี้ มักคิดแต่ต้องการกินรวบ! นอกจากจะคิดกำจัดคู่แข่งอย่าง
ปราศจากจริยธรรมแล้ว ยังมีแต่ความคิดและการกระทำที่เอารัดเอาเปรียบตลอดเวลา ทั้งกับคู่
ค้า ทั้งกับพันธมิตร ที่ร่วมด้วยช่วยกันมาตั้งแต่แรก เรียกง่ายๆว่า คิดใหญ่แต่โลภ! เมื่อเริ่ม
ขยายธุรกิจ คิดการใหญ่ไปได้สักระยะหนึ่ง ก็จะเริ่มรู้สึกว่า หันไปทางไหนก็เจอแต่ศัตรูที่เมื่อ
ก่อนเคยเป็นมิตร! ไม่ช้าไม่นาน กลุ่มที่คิดการใหญ่กลุ่มนี้ก็จะค่อยๆถูกถอนการสนับสนุนและ
ปราศจากโอกาสที่เคยมีคนหยิบยื่นให้...คิดใหญ่ได้ไม่นานก็แพ้ภัยตัวเองจนค่อยๆล้มหายตาย
จากไป!

4.คิดใหญ่...โดยใช้เงินร้อน

                   

SME และเจ้าของธุรกิจประเภทนี้ หลายคนมีฝีมือ แต่ต้องมาถึงจุดจบทางธุรกิจก่อนวัยอัน
ควร เพราะการใช้แหล่งเงินที่กู้มาในอัตราดอกเบี้ยสูง หรือแม้กระทั่งการปั่นหุ้นเพื่อนำเงินมา
ขยายธุรกิจ
แต่เมื่อผลประกอบการออกมาตกต่ำ และเลวร้ายกว่าที่คิด ก็ขาดความสามารถที่
จะหมุนเงิน เรียกว่ารายได้ยังไม่พอจ่ายดอกเบี้ย สุดท้ายมักจะลงเอยที่การขายกิจการหรือไม่
ก็ถูกเจ้าหนี้เข้าครอบครอง ดับดาวรุ่งไปอีกราย!

5.คิดใหญ่...แต่ยังไม่ตกผลึก

ในประเด็นสุดท้ายมักจะเกิดกับพวกนักศึกษาจบใหม่ไฟแรง หรือแม้กระทั่งยังเรียนไม่จบ ก็ใฝ่
ฝันอยากจะเป็นแบบ บิล เกตส์ หรือ สตีฟ จ๊อบ ที่เรียนไม่จบก็รวยและรุ่งโรจน์ได้! ประเด็นไม่
ได้อยู่ที่เรียนจบหรือไม่จบ แต่ประเด็นอยู่ที่มีความคิดดี แต่มีความระห่ำที่ยังไม่ตกผลึก มีแต่
ฝันแต่ขาดกึ๋นที่ตกผลึก ก็เลยลงเอยที่ตกเหวภายใน 2-3 ปี!

หมายเหตุ : ภาพประกอบหนังสือคิดใหญ่..ไม่คิดเล็ก ของ Dr.David J.Schwartz นี้
ไม่เกี่ยวกับบทความนี้แต่อย่างใด เว็บมาสเตอร์นำมาเป็นภาพประกอบเท่านั้น แต่ทางเราก็อยากเชียร์
ให้ท่านหาหนังสือเล่มนี้มาอ่าน เพราะเป็นหนังสือที่ดีเล่มหนึ่ง สร้างแรงบันดาลใจได้อย่างดีเยี่ยมในเรื่อง
ของการ Think Big ลองหาอ่านดูนะครับ...

บทความโดย : ธีรพล แซ่ตั้ง  ที่มา : วารสารบิสิเนสไทย  




รวมบทความการจัดการธุรกิจ

กลยุทธ์การตลาด เจาะองค์กร
การตลาด - วิธีบริหารจัดการกับราคาสินค้าที่แพง
จุดยืนทางการตลาด
กลยุทธ์การตลาด สำหรับเจ้าของกิจการ SME
เทคนิคการขายให้ประสบความสำเร็จ
กลยุทธ์การตลาดสินค้า Brandname
7 ความล้มเหลวทางการตลาด
ตั้งชื่อร้าน สร้างแบรนด์ อย่างไรดี
กลยุทธ์สร้างความประทับใจแก่ลูกค้า
คุณสมบัติ 9 อย่างที่ google ใช้พิจารณารับคนเข้าทำงาน
เช็ค BLACKLIST...10 ข้อต้องรู้ เครดิตบูโร !
"เจ้านาย" 8 ประเภท ที่ลูกน้อง "สุดทน"
การบริหารคน ให้ธุรกิจไปรอด
ทำไมต้องมีบัญชีกระแสรายวัน
ธุรกิจ SME อยากกู้เงินธนาคาร เริ่มต้นอย่างไรดี
ทำไมคนเราจึงยอมซื้อสินค้า IT ราคาแพง
เทคนิคการบริหารจัดการลูกค้่า
วิธีการให้กำลังใจตัวเองในการทำงาน
นอกจากเงิน มีสิ่งใดทำให้พนักงานมีความสุขได้อีก
10 คำถามก่อนรับพนักงานใหม่
ทิศทางการตลาดยุคดิจิตอล
กองทุนตั้งตัวได้ โอกาสสำหรับนักธุรกิจรุ่นใหม่
3 ปี (นับจากปี 2555) เศรษฐกิจไทย 'เลี่ยงความเสี่ยง- คว้าโอกาส'
กะทิชาวเกาะ “กว่าจะมาเป็น กะทิ UHT รายแรกของไทย”
เส้นทางความสำเร็จของ "หมอเส็ง"
แนวโน้มการตลาดออนไลน์
ทฤษฎีผลประโยชน์กับการลงทุน
การออกแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
Google กับการพัฒนาธุรกิจ
ความท้าทายเอสเอ็มอีไทยในปี 2554
แนวทางการบริหารเงินในปี 2554
เรื่องราวของราชารีไซเคิลเมืองไทย ที่เริ่มต้นธุรกิจเก็บขยะมาขาย จนธุรกิจเติบโตรวยเป็นเศรษฐี
สัมภาษณ์เจ้าของธุรกิจจานดาวเทียม PSI...เส้นทางกว่าจะมาถึงวันนี้
วิธีจัดการกับลูกค้าที่ชอบโวยวาย
สูตรสำเร็จ การบริหารกิจการกาแฟ (แบล็คแคนยอน) สู่ระดับสากล
Change Management
สื่อออนไลน์กับการทำธุรกิจ
การส่งต่อธุรกิจครอบครัว
เปลี่ยนงานใหม่อย่างไรไม่ให้พลาด
ขายตรงผ่านดาวเทียม
ธุรกิจอีคอมเมิซไทย..ก้าวไกลแค่ไหน
ทำอย่างไรเมื่อเงินขาดมือ
เคล็ดลับ 7 ประการในการรักษาลูกค้าให้อยู่กับเราตลอดไป
"วิกฤติเศรษฐกิจแบบนี้นักธุรกิจต้องทำอะไรบ้าง"
"ลูกหนี้" คือ "กับดัก" ของกระแสเงินสด
อย่าใช้เงินกู้ผิดประเภท
ทำอย่างไรให้อีกฝ่ายตอบ เยส (Yes) !
ให้โบนัส "สร้าง" หรือ "ทำลาย" กำลังใจ
การตลาดสำหรับธุรกิจบริการ
วิธีการหา “ตัวช่วย” สำหรับแก้ไขปัญหาหนี้สิน
คติพจน์แห่งการประพฤติตนในสถานที่ทำงาน
เมื่อขงเบ้งสอนเล่าปี่เกี่ยวกับเทคนิคการบริหารเวลา
ทำไมหัวหน้าไม่ฟังลูกน้อง
10 ตัวอย่างจูงใจพนักงาน
เปิด 10 บริษัทแชมป์กำไรยอดเยี่ยม ท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ
7 วิธี…ต่อสู้กับวิกฤติเศรษฐกิจ
Comfort Care…รักษาใจในวาระสุดท้ายก่อนเลิกจ้าง
สัญญาณเตือนจากคำพูด
Work Hard กับ Work Smart
SMEs จะต้องเผชิญอะไรในปี 2552 บ้าง
เคล็ดลับการทำงาน อย่างชาวจีนที่คุณเลียนแบบได้
เลิกจ้าง...มิใช่คำตอบสุดท้าย
10 สาเหตุที่ทำให้ธุรกิจล้ม !!!
จะทำอย่างไร เมื่องานเยอะจนทำไม่ทัน
การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
THE SECRET ไขกุญแจความสำเร็จธุรกิจยุคหน้า
10 กลยุทธ์ซื้อใจมนุษย์เงินเดือน
วิธีการหลีกเลี่ยงภาวะหนี้สินล้นพ้นตัว
เมื่อลูกน้องทำงานไม่ได้ดั่งใจ
การฟอกเงิน คืออะไร
ต่อรองแบบ Win-Win
เมื่อพนักงานเริ่มหมดความมุ่งมั่นในการทำงาน
ธนาคารไม่ใช่เพื่อน
นายที่ลูกน้องไม่ชอบ
การบริหารจัดการเงินสดในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs)
อย่าฆ่าเวลาจนเป็นนิสัย
10 เทคนิค...พูดอย่างมือโปร
เคล็ดลับ "จำกัด" จุดอ่อน
วิธีการเขียนแผนธุรกิจ
Me Too Business
รับมือลูกค้าเจ้าอารมณ์
7 วิธี เพื่อการบริการลูกค้าที่เป็นเลิศ
10 เงื่อนไขผูกใจลูกค้าให้ประสบความสำเร็จ
ทำไมคนบางประเภทจึงไม่สามารถเป็นผู้นำคนได้
ความสำเร็จที่เกิดจาก “ทีมสนับสนุน”
ประโยชน์ที่ได้รับ จากการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
ทำ Team ให้ Work
21 เหตุแห่งความล้มเหลวของท่านกว๋อฉาง (นักปราชญ์ชาวจีน)
10 วิธีในการเอาชนะความกลัวในการขาย
จ้างคน...ที่ใจ (Passion-Based Recruitment)
วิธีการจัดการ งานสุดเซ็งให้กลับชื่นมื่น
คัดเลือกคนที่ “ใช่”
7 วิธีในการจัดการเงินสดหมุนเวียนให้มีประสิทธิภาพ
เจรจาต่อรองอย่างผู้ชนะ
ท็อปฮิตสาเหตุ...งานไม่เดิน !!!
ทำอย่างไรให้เป็นคนมีความคิดสร้างสรรค์
10 เหตุผลดีๆ ที่ควรวางแผนการเงิน
รูปแบบของธุรกิจการเงินนอกระบบ
สร้างอุปนิสัยในการทำงาน